ตราสัญลักษณ์ สวนล. ภาษาไทย

ข่าวกิจกรรมวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย

ข่าวกิจกรรมงานวิจัยและงานวิจัยเผลแพร่ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสถาบันวิจัยและนวัตกรรม

ขอเชิญคณาจารย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมเสนอผลงานตีพิมพ์เพื่อพิจารณารับ รางวัล จภ.ทองคำ ประจำปี 2566

ขอเชิญคณาจารย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมเสนอผลงานตีพิมพ์เพื่อพิจารณารับ รางวัล จภ.ทองคำ ประจำปี 2566

ขอเชิญคณาจารย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมเสนอผลงานตีพิมพ์เพื่อพิจารณารับ รางวัล จภ.ทองคำ ประจำปี 2566 สถาบันส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ ขอเชิญคณาจารย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ทุกท่านเสนอผลงานเพื่อขอรับการพิจารณา รางวัล จภ.ทองคำ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจำปี 2566คุณสมบัติของผู้เสนอขอรับรางวัล1. ต้องเป็นพนักงานสายวิชาการของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ที่ปฏิบัติงานติดต่อกันมาแล้วในระยะเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี ณ วันที่ยื่นเสนอขอรับรางวัล2. ผู้เสนอขอรับรางวัลต้องเป็น First Author หรือ Corresponding Author ของผลงาน จำนวน 10 บทความขึ้นไปในระดับควอไทล์ 1 และเป็นผลงานที่มีค่าเปอร์เซ็นไทล์ตั้งแต่ 90 ไม่ต่ำกว่า 5 บทความคุณสมบัติของผลงาน1. ผลงานที่เสนอขอรับรางวัล ต้องดำเนินการในช่วงที่ผู้เสนอขอเป็นพนักงานวิชาการของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทุกผลงาน และมีการระบุหน่วยงานของผู้เขียนในผลงานเป็นมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์2. ผลงานที่เสนอขอรับรางวัล ต้องไม่เป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรการศึกษาของผู้เสนอขอรางวัล3. ผลงานที่เสนอขอรับรางวัล ต้องไม่เป็นผลงานที่มี Co-first Author หรือ Co-corresponding Author ไม่ว่าผู้เสนอขออยู่ในสถานะใดในบทความนั้นผู้ยื่นขอส่งแบบฟอร์มเสนอขอรับรางวัล จภ. ทองคำ ให้คณะกรรมการสำนักวิชา/วิทยาลัยที่ท่านสังกัดพิจารณาคุณสมบัติเบืิ้องต้น ก่อนเสนอชื่อมายังสถาบันส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ เพื่อตรวจสอบและรวบรวมรายชื่อเข้าที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณารางวัล จภ.ทองคำ […]

ขอเชิญคณาจารย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมเสนอผลงานตีพิมพ์เพื่อพิจารณารับ รางวัล จภ.ทองคำ ประจำปี 2566 Read More »

พิธีมอบรางวัลการประกวดผลงานสถาบันอุดมศึกษาโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นฯ โดย กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

พิธีมอบรางวัลการประกวดผลงานสถาบันอุดมศึกษาโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นฯ โดย กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

พิธีมอบรางวัลการประกวดผลงานสถาบันอุดมศึกษาโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นฯ โดย กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ 2567 กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้จัดงาน Future Thailand ขึ้น ณ สามย่านมิตรทาวน์ เพื่อระดมสมอง ความคิดเห็นจากอธิการบดี ผู้บริหารหน่วยงาน อว. และนักวิจัยทั่วประเทศ กว่า 800 คน กำหนดวิสัยทัศน์ แสดงความพร้อมและศักยภาพของ อว. ในการพัฒนาประเทศ และ เพื่อเป็นเวทีที่ยกย่อง เชิดชูบุคลากรที่ได้รับรางวัล  รัฐมนตรีกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (นางสาวศุภมาส อิศรภักดี) ได้มอบเกียรติบัตรแก่นักประดิษฐ์และนักวิจัยไทยที่ได้รับรางวัลจากเวทีการประกวดสิ่งประดิษฐ์นานาชาติจาก 6 เวที จำนวน 151 ท่านและมีรางวัลในส่วนของสถาบันอุดมศึกษาดีเด่นจำนวน 35 ท่าน ทั้งนี้มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ในฐานะแม่ข่ายเครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนบนขอแสดงความยินดีกับทุกท่าน ร่วมถึงสถาบันในเครือข่ายภาคใต้ตอนบนที่ได้รับรางวัลได้แก่ รางวัลผลงานดีเด่น: โครงการการแก้ปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ด้วย Read Aloud และสร้างสื่อนวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน

พิธีมอบรางวัลการประกวดผลงานสถาบันอุดมศึกษาโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่นฯ โดย กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม Read More »

หน้าปกยกย่องนักวิจัยเดือน มกราคม 2567

อาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ในเดือนมกราคม 2567

อาจารย์และนักวิจัยที่ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ในเดือนมกราคม 2567 แหล่งทุนภายนอกโดยเป็นแหล่งทุนจากภาครัฐที่ได้รับการทำสัญญา จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รายชื่ออาจารย์และนักวิจัย ดังนี้ 1.สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)อาจารย์ ดร.เทียนชัย วิวาสุขุ(อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตร์) 2.สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)อาจารย์ ดร.พรชัย พรพนม(อาจารย์ประจำวิทยาลัยสัตวแพทยศาสตร์อัครราชกุมารี) 3.สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)รองศาสตราจารย์ ดร. ชูชาติ พันธ์สวัสดิ์(อาจารย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์) 4.สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)รองศาสตราจารย์ ดร. นุชจรี จีนด้วง(อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์) 5.สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติรองศาสตราจารย์ ดร.วัฒนพงศ์ เกิดทองมี(อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี) 6.สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรางคณา กิจพิพิธ(อาจารย์ประจำวิทยาลัยสัตวแพทยศาสตร์อัครราชกุมารี)

อาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ในเดือนมกราคม 2567 Read More »

ปกประชาสัมพันธ์-90%-เดือนธันวาคม 2566-01

อาจารย์ที่มีผลงาน Scopus (Q1) Percentile ≥ 90 ในเดือนธันวาคม 2566

คณาจารย์ ม.วลัยลักษณ์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารบนฐานข้อมูล Scopus Percentile มากกว่า 90 ขึ้นไป Journal Quartile Score (Q) คือ ค่าดัชนีที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของวารสารวิชาการ โดยสามารถแบ่งพิจารณา Percentile ได้ดังนี้Q1 = Top position (75 – 100 %)Q2 = Middle-high position (50 – 74.99 %)Q3 =Middle-low position (25 – 49.99 %)Q4 = Bottom position (1 – 24.99 %)ซึ่ง Quartile Score จะเป็นตัวพิจารณาในด้านของทุนหรือ เงินรางวัลสำหรับการตีพิมพ์เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่นักวิจัยต่อไป สถาบันส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีการจัดทำข้อมูลของนักวิจัยทั้งหมด ซึ่งมีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ในฐานะ First author

อาจารย์ที่มีผลงาน Scopus (Q1) Percentile ≥ 90 ในเดือนธันวาคม 2566 Read More »

ขอแสดงความยินดีอาจารย์และนักวิจัยได้รับทุนวิจัยภายนอก ประจำเดือนธันวาคม 2566

อาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ในเดือนธันวาคม 2566

อาจารย์และนักวิจัยที่ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ในเดือนธันวาคม 2566 แหล่งทุนภายนอกโดยเป็นแหล่งทุนจากภาครัฐที่ได้รับการทำสัญญาจำนวน 2 แหล่งทุน รายชื่อแหล่งทุนมี ดังนี้ 1.หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)รศ.ดร. ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์(อาจารย์ประจำสำนักวิชาการจัดการ) 2. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)รศ.ดร.นพ. อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว(อาจารย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์) 3. The Southeast Asian Ministers of Education Organization Regional Centre for Sufficiency Economy Philosophy for Sustainability (SEAMEO SEPS)รศ.ดร. กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี(อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตร์) 4.สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)รศ.ดร. วรวรรณ พันพิพัฒน์(อาจารย์ประจำสำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร) 5.สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)รศ.ดร. หมุดตอเล็บ หนิสอ(อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตร์) 6.สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)ผศ.ดร. พิมพ์ชนก พิมพ์ทนต์(อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตร์) 7.สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)ผศ.ดร. กชพรรณ กาญจนะ(อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตร์) 8.สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

อาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ในเดือนธันวาคม 2566 Read More »

เชิญชวนอาจารย์/นักวิจัย เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการวิจัยอาจารย์รุ่นใหม่ เรื่อง "ความรู้เบื้องต้นสำหรับการตีพิมพ์ในวารสารฐานข้อมูลระดับนานาชาติ"

เชิญชวนอาจารย์/นักวิจัย เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการวิจัยอาจารย์รุ่นใหม่ เรื่อง “ความรู้เบื้องต้นสำหรับการตีพิมพ์ในวารสารฐานข้อมูลระดับนานาชาติ”

เชิญชวนอาจารย์/นักวิจัย เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการวิจัยอาจารย์รุ่นใหม่เรื่อง “ความรู้เบื้องต้นสำหรับการตีพิมพ์ในวารสารฐานข้อมูลระดับนานาชาติ” กิจกรรมส่งเสริมการวิจัยอาจารย์รุ่นใหม่ เชิญชวนอาจารย์/นักวิจัย เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการวิจัยอาจารย์รุ่นใหม่ เรื่อง “ความรู้เบื้องต้นสำหรับการตีพิมพ์ในวารสารฐานข้อมูลระดับนานาชาติ” โดยมี รศ.ดร.นพ.อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ เป็นวิทยากร วัตถุประสงค์ เพื่อให้อาจารย์ได้รับทราบข้อมูลเบื้องต้นที่เป็นประโยชน์ต่อการตีพิมพ์บทความในวารสารฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ในวันพุธที่ 27 ธันวาคม 2566 เวลา 13.30 – 15.00 น. ณ ห้องประชุมเขาหลวง อาคารสหกิจศึกษา ลงทะเบียนเข้าร่วมได้ที่ https://forms.gle/HogopwBfVNNUgZtW8

เชิญชวนอาจารย์/นักวิจัย เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการวิจัยอาจารย์รุ่นใหม่ เรื่อง “ความรู้เบื้องต้นสำหรับการตีพิมพ์ในวารสารฐานข้อมูลระดับนานาชาติ” Read More »

ขอแสดงความยินดีอาจารย์และนักวิจัยได้รับทุนวิจัยภายนอก ประจำเดือนพฤศจิกายน 2566

อาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ในเดือนพฤศจิกายน 2566

อาจารย์และนักวิจัยที่ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ในเดือนพฤศจิกายน 2566 แหล่งทุนภายนอกโดยเป็นแหล่งทุนจากภาครัฐที่ได้รับการทำสัญญาจำนวน 5 แหล่งทุน รายชื่อแหล่งทุนมี ดังนี้ 1.หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถการแข่งขันของประเทศ (บพข.)รศ.ดร. หมุดตอเล็บ หนิสอ(อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตร์) 2.กองทุนเพื่อความเสอมภาคทางการศึกษา (กสศ.)ผศ.ดร. กำไล สมรักษ์(อาจารย์ประจำสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์) 3.ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.)รองศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว(อาจารย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์) 4.สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) (ร่วมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)อาจารย์ ดร.พีรวิชญ์ เควด(อาจารย์ประจำสำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ ) 5.หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) PMU-Aผู้ช่วยศาสตราจารย์ เยาวเรศ ศิริสถิตย์กุล(อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี)

อาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ในเดือนพฤศจิกายน 2566 Read More »

ปกประชาสัมพันธ์-90%-เดือนพฤศจิกายน 2566-01

อาจารย์ที่มีผลงาน Scopus (Q1) Percentile ≥ 90 ในเดือนพฤศจิกายน 2566

คณาจารย์ ม.วลัยลักษณ์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารบนฐานข้อมูล Scopus Percentile มากกว่า 90 ขึ้นไป Journal Quartile Score (Q) คือ ค่าดัชนีที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของวารสารวิชาการ โดยสามารถแบ่งพิจารณา Percentile ได้ดังนี้Q1 = Top position (75 – 100 %)Q2 = Middle-high position (50 – 74.99 %)Q3 =Middle-low position (25 – 49.99 %)Q4 = Bottom position (1 – 24.99 %)ซึ่ง Quartile Score จะเป็นตัวพิจารณาในด้านของทุนหรือ เงินรางวัลสำหรับการตีพิมพ์เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่นักวิจัยต่อไป สถาบันส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีการจัดทำข้อมูลของนักวิจัยทั้งหมด ซึ่งมีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ในฐานะ First author

อาจารย์ที่มีผลงาน Scopus (Q1) Percentile ≥ 90 ในเดือนพฤศจิกายน 2566 Read More »

เชิญชวนอาจารย์ บุคลากร หรือผู้ที่สนใจเข้าร่วมและรับฟัง กิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์

เชิญชวนอาจารย์ บุคลากร หรือผู้ที่สนใจเข้าร่วมและรับฟัง กิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์

คณาจารย์ ม.วลัยลักษณ์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารบนฐานข้อมูล Scopus Percentile มากกว่า 90 ขึ้นไป Journal Quartile Score (Q) คือ ค่าดัชนีที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของวารสารวิชาการ โดยสามารถแบ่งพิจารณา Percentile ได้ดังนี้ Q1 = Top position (75 – 100 %) Q2 = Middle-high position (50 – 74.99 %) Q3 =Middle-low position (25 – 49.99 %) Q4 = Bottom position (1 – 24.99 %) ซึ่ง Quartile Score จะเป็นตัวพิจารณาในด้านของทุนหรือ เงินรางวัลสำหรับการตีพิมพ์เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่นักวิจัยต่อไป สถาบันส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

เชิญชวนอาจารย์ บุคลากร หรือผู้ที่สนใจเข้าร่วมและรับฟัง กิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ Read More »

ปกประชาสัมพันธ์-90%-เดือนตุลาคม 2566-01

อาจารย์ที่มีผลงาน Scopus (Q1) Percentile ≥ 90 ในเดือนตุลาคม 2566

คณาจารย์ ม.วลัยลักษณ์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารบนฐานข้อมูล Scopus Percentile มากกว่า 90 ขึ้นไป Journal Quartile Score (Q) คือ ค่าดัชนีที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของวารสารวิชาการ โดยสามารถแบ่งพิจารณา Percentile ได้ดังนี้Q1 = Top position (75 – 100 %)Q2 = Middle-high position (50 – 74.99 %)Q3 =Middle-low position (25 – 49.99 %)Q4 = Bottom position (1 – 24.99 %)ซึ่ง Quartile Score จะเป็นตัวพิจารณาในด้านของทุนหรือ เงินรางวัลสำหรับการตีพิมพ์เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่นักวิจัยต่อไป สถาบันส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีการจัดทำข้อมูลของนักวิจัยทั้งหมด ซึ่งมีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ในฐานะ First author

อาจารย์ที่มีผลงาน Scopus (Q1) Percentile ≥ 90 ในเดือนตุลาคม 2566 Read More »