Asst. Prof. Dr.Taweeluck Pollachom

Curriculum Vitae

 
Asst. Prof. Dr.Taweeluck Pollachom
 
Walailak University
School of Languages and General Education, Academic Building 5
222 Thaburi, Thasala District, Nakhon Si Thammarat, 80160 Thailand
 
Tell : 0-7567-76213
Fax : 0-7567-2431
Email :  taweeluck@gmail.com
การศึกษา
 
คุณวุฒิ                                ปร.ด. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          สาขาเอเชียศึกษา/ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 
ปี พ.ศ.                                 2559
 
คุณวุฒิ                                ศศ.ม. (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          สาขาสตรีศึกษา / มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปี พ.ศ.                                 2550
 
คุณวุฒิ                                ร.บ. (รัฐศาสตรบัณฑิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          สาขาการเมืองการปกครอง / มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปี พ.ศ.                                 2545
ประสบการณ์การทำงาน
 
ปี พ.ศ. 2553 – ปัจจุบัน             อาจารย์ประจำ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2560                         กรรมการ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านผู้หญิงและความมั่นคงทางสังคม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2557 – ปัจจุบัน             อาจารย์พิเศษ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสตรีศึกษา เพศสถานะ และเพศวิถี                                                         มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปี พ.ศ. 2551-2553                   อาจารย์พิเศษ หลักสูตรวิชา อศ.321 ปัญหาบทบาทหญิงชายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้                                                          โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ
 
  1. ญาณวิทยาสตรีนิยม
  2. ทฤษฎีสตรีนิยม
  3. อาณานิคมและขบวนการเคลื่อนไหวของผู้หญิงในประเทศโลกที่สาม
  4. อัตลักษณ์และประวัติศาสตร์ผู้หญิง
ประสบการณ์สอน
 
ปีการศึกษา 2553 – ปัจจุบัน       มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์ปี
ปริญญาตรี                           รายวิชาศิลปวัฒนธรรมปริทัศน์, สตรีศึกษา, เพศสภาพและความสัมพันธ์หญิงชายในเอเชีย
                                         ตะวันออกเฉียงใต้, สัมมนาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, มนุษยภาพ สังคม และสุนทรียศาสตร์, 
                                         สิทธิมนุษยชนในวิถีชีวิตไทยกับโลกาภิวัตน์, สังคมไทยกับวัฒนธรรมโลก, ชีวิตประจำวันกับหลักการ 
                                         อยู่ร่วมกันทางสังคม, มโนทัศน์ในการศึกษาสังคมและวัฒนธรรม, สิทธิ กฎหมาย และสังคม, 
                                         สังคมโลกปัจจุบันและความเป็นพลเมืองโลก, ภาพยนตร์นานาชาติ, ผู้หญิงกับการเมือง, 
                                         เพศวิถีร่วมสมัย, การเขียนโครงร่างงานวิจัย และการเมืองของประชาชนและความเป็นพลเมือง
ปริญญาโท                            รายวิชาวัฒนธรรมสมัยนิยมในสังคมไทย, กรอบคิดเชิงทฤษฎีสำหรับอาณาบริเวณศึกษา, 
                                         เพศสภาพกับการเปลี่ยนโครงสร้างประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เพศสถานะ อำนาจและ
                                         ความรู้ปฏิบัติการวิจัย, ประวัติศาสตร์ของผู้หญิงและการวิเคราะห์ในแนวสตรีนิยม, ทฤษฎีสตรีนิยม
                                         และสัมมนา หัวข้อวิทยานิพนธ์ 
ผลงานทางวิชาการ
 
  • งานวิจัย
  1. อัมพร หมาดเด็น (หัวหน้าโครงการ) มนวัธน์ พรหมรัตน์ และทวีลักษณ์ พลราชม (นักวิจัยร่วม). (2557-2558). ประเมินผลปลายโครงการการพัฒนาเพื่อขยายเครือข่ายบริการภายในชุมชนอย่างยั่งยืนสำหรับผู้หญิงและเด็กที่ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบและความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้. แหล่งงบประมาณสนับสนุน: มูลนิธิรักษ์ไทย (EU).
  2. ทวีลักษณ์ พลราชม และวารชา การวินพฤติ. (2554). “ณ ระหว่างพื้นที่: ประสบการณ์ || อัตลักษณ์ ||
    มุสลิมมะฮฺปาตานี บนเส้นทางการศึกษาสมัยใหม่.” (มูลนิธิเอเชีย)
  3. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2555). โครงการวิจัย ““ฮิญาบ” : อิทธิพลของกระแสฟื้นฟูอิสลามต่อผู้หญิงมุสลิมในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้.” (ทุนอุดหนุนนักวิจันรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) อยู่ระหว่างดำเนินการ
  • หนังสือ / บทความตีพิมพ์
ภาษาไทย
  1. ทวีลักษณ์ พลราชม.(2560). ปริทัศน์หนังสือ เรื่อง “’ผู้หญิงอยุธยา’ สิ่งซุกซ่อนทางประวัติศาสตร์ ความเป็นแม่
    ความเป็นเมีย และความเป็นคน!.” วารสารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์. 17:1 มกราคม-มิถุนายน
  2. ทวีลักษณ์ พลราชม. (มิถุนายน 2559- พฤษภาคม 2560). “เส้นทางการศึกษาของผู้หญิงมาเลย์-มุสลิมปาตานีใน
    เอกสารจดหมายเหตุและประวัติศาสตร์บอกเล่าส่วนบุคคล.” จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์.
    (20): 117-133.
  3. ทวีลักษณ์ พลราชม.(2558). “ทำได้มากกว่าหน้าที่ในครัวเรือน”: ปัญญาชนหญิงมาเลย์-มินังกาบาว
    กับอาณานิคมและการปฏิรูปอิสลาม.” วารสารชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์
    (ฉบับรุ่นพิเศษ). 4 (7): 223-242.
  4. ทวีลักษณ์ พลราชม มนวัธน์ พรหมรัตน์ และอัมพร หมาดเด็น. (2558). การเป็นหญิงหม้ายกับความรุนแรง
    เชิงวัฒนธรรมและโครงสร้างในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ใน มนุษยศาสตร์
    สังคมศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 3 ฉบับที่ 2: 95-120.
  5. ทวีลักษณ์ พลราชม และวารชา การวินพฤติ. (2554). ณ ระหว่างพื้นที่: ประสบการณ์ || อัตลักษณ์ ||
    มุสลิมมะฮฺปาตานี บนเส้นทางการศึกษาสมัยใหม่. วารสารรุไบยาต: วารสารวิชาการด้าน
    เอเชียศึกษา, (ฉบับพิเศษ), 2 (3), กรกฎาคม- ธันวาคม : 146-189.
  6. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2553). “กรอบแนวคิด “การพัฒนาสตรี” : วิพากษ์กระบวนทัศน์ในการสร้างความรู้
    ผู้หญิง ใน สังคมไทย.” รัฐศาสตร์สาร,กันยายน – ธันวาคม.
  7. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2553) “ปริทัศน์หนังสือ “Modern Dreams : An Inquiry into Power, Cultural
    Production, and the Cityspace in Contemporary Urban Penang, Malaysia” ของ
    Goh Beng-Lan. วารสารรุไบยาต, มกราคม-มิถุนายน.
  8. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2553). “’เสียง’ และ ‘ประสบการณ์’ ผู้หญิง: ว่าด้วยข้อถกเถียงในการวิจัยแนวสตรีนิยม.” รวมบทความชุดศิลปศาสตร์สำนึก ฉบับ ภาษาและรหัสนัยของภาษา, มิถุนายน.
  9. ทวีลักษณ์ พลราชม.(2553). “ทฤษฎีจุดยืนสตรีนิยม : ข้อถกเถียงเชิงญาณวิทยาในการสร้างความรู้ที่มาจาก ประสบการณ์ผู้หญิง.” วารสารรุไบยาต. กรกฎาคม – ธันวาคม.
  10. ทวีลักษณ์ พลราชม.(2549). “ไดอารี จดหมายร้องเรียน แถลงการณ์ ฯลฯ : แกะรอย ‘ความรู้’ จากเอกสารของ
    พรเพชร เหมือนศรี หญิงชาวนาจังหวัดนครสวรรค์.” จุลสารหอจดหมายเหตุ ธรรมศาสตร์,
    มิถุนายน – พฤษภาคม.
ภาษาอังกฤษ
  1. Pollachom, Taweeluck. (2015). Comparing Pathways and Outcom for Patani Muslim Women
    of Different Education Systems Since 1959. Islam Realitas : Journal of Islamic &
    Social Studies. 1 (2): 129-144.
  2. Pollachom, Taweeluck . (2013). “IN BETWEEN SPACE : Experience and Identity of Pattani
    Muslim Women in the Modern Thai Education System, TAI CULTURE :
    Interdisciplinary Tai Studies Series. Vol 23: 135-145.
  • บทความนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ
  1. Pollachom, Taweeluck. (2017). “Hybridity Identities of Three Generations of Patani Muslim Women in Modern Education System between 1957-1982.” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 13th International Conference on Thai Studies: Globalized Thailand? Connectivity, Conflict, and Conundrums of Thai Studies. ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา จ.เชียงใหม่, วันที่ 15-18 กรกฎาคม.
  2. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2560). นำเสนอผลงานวิชาการ “การเหยียดหญิงร่างกายผู้หญิงผู้ชายความด้อยและความสามารถในการใช้เหตุผล.” ในงานประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ครั้งที่ 9 ณ อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วันที่ 30-31 มีนาคม.
  3. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2559). “อัตลักษณ์แบบผสมผสานกลายพันธุ์ของผู้หญิงมุสลิมปาตานี “สามรุ่น” ในระบบการศึกษาแผนใหม่ ระหว่าง พ.ศ. 2500-2525.” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 10 “ความคลุมเครือ ความเคลือบแคลง เส้นแบ่ง และพรมแดนในมนุษยศาสตร์” ณ โรงแรมราชมังคลา สงขลา เมอร์เมด จ.สงขลา, วันที่ 19-20 กันยายน.
  4. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2559). “อัตลักษณ์ผู้หญิงมุสลิมปาตานีในระบบการศึกษาแผนใหม่ ก่อนเริ่ม
    กระแสฟื้นฟูศาสนาอิสลามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้.” (น.102-173). เอกสาร ประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 15 ประจำปีการศึกษา 2558 ณ โรงแรม บี พี สมิหลา บีช สงขลา วันที่ 28-29 พฤษภาคม.
  5. ทวีลักษณ์ พลราชม.(2558). นำเสนอผลงานวิชาหัวข้อ “Mahaad Saniah Pasir Puteh, Kelantan and the Education paths of Patani Muslimah in Malay World.” ในการระดับ นานาชาติ Southeast Asian Studies in Asia Conference. ศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Center for Southeast Asian Studies- CSEAS) มหาวิทยาลัยเกียวโต, วันที่ 12-13 ธันวาคม.
  6. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2557). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “แม่ผู้ไม่มีการศึกษา” หรือ “แม่แบบสมัยใหม่”: การสร้างบทบาทและพื้นที่ทางสังคมของผู้หญิงมุสลิมปาตานีรุ่นแรกที่จบการศึกษาศาสนาจากถาบันการศึกษาศาสนาขั้นสูงนิลัมปุลี รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย” ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษ์วิจัย ครั้งที่ 6 ณ อาคารนวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, วันที่ 3-4 กรกฎาคม.
  7. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2557). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ Uneducated Mother” or “Modern Mother” : The Construction of Religious Education Women’s Role in Public Space in the Three Border Provinces of Thailand ในงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 12th International Conference on Thai Studies (ICTS12) ณ มหาวิทยาลัยซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย, วันที่ 22-24 เมษายน.
  8. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2557). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “เส้นทางการศึกษาศาสนาของมุสลิมะห์ปาตานีรุ่นแรกในโลกมาเลย์: ประสบการณ์จากมุสลิมะห์ที่จบการศึกษาจากโรงเรียนมะฮัดด์ซานียะห์(Mahaad Saniah)” ในงานประชุม 40 ปีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ณ โรงแรมลีการ์เดน หาดใหญ่ วันที่ 23-24 ตุลาคม.
  9. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2557). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “ในระหว่างพื้นที่”: อัตลักษณ์ผู้หญิงมาเลย์-มุสลิมปาตานีสามรุ่นที่ผ่านการศึกษาแผนใหม่ ระหว่าง พ.ศ.2500-2525.” ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ครั้งที่ 8 ณ โรงแรมอิมพีเรียล แม่ปิง เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่, วันที่ 27-29 พฤศจิกายน.
  10. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2556). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “Comparing Pathways and Outcome for Patani Muslim Women in Different Education Systems since 1959” ในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ THE 8TH ASIAN GRADUATE FORUM ON SOUTHEAST ASIAN STUDIES ณ มหาวิทยาลัยแห่งชาติ สิงคโปร์ ประเทศสิงคโปร์ วันที่ 24-26 กรกฎาคม.
  11. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2556). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “Transnational Islamic
    Education : The Identity Formation of Malay-Muslim Women in the
    Three Southern Border Provinces of Thailand in the 1970s” ในการ
    ประชุมระดับนานาชาติ The 32nd German Oriental Conference of the German
    Society for Oriental ณ มหาวิทยาลัยมอนสเตอร์ ประเทศเยอรมันนี, วันที่ 23-27
    กันยายน 2556.
  12. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2556). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “อัตลักษณ์ผู้หญิงมุสลิมปาตานีที่ผ่าน
    การศึกษาแผนใหม่ หลัง พ.ศ. 2502” ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษ์วิจัย
    ครั้งที่ 5 ณ อาคารนวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 1 สิงหาคม.
  13. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2555). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “ณ ระหว่างพื้นที่:ประสบการณ์ || อัต
    ลักษณ์ ||มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเส้นทางการศึกษาสมัยใหม่” ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
    วันที่ 27-28 มกราคม.
  14. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2555). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “In-Between Space:
    Experience and Identity of the Pattani Muslim Women in Modern
    Education System” In the International Conference on “One ASEAN
    One Community: Political, Religious and Socio-Cultural Issues and Challenges” วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  15. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2555). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “In-Between Space:
    Experience and Identity of the Pattani Muslim Women in Modern
    Education System : International Conference on : THE 7TH ASIAN
    GRADUATE FORUM ON SOUTHEAST ASIAN STUDIES. ณ มหาวิทยาลัยแห่งชาติ
    สิงคโปร์ ประเทศสิงคโปร์, วันที่ 16-20 กรกฎาคม.
  16. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2555). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ In-Between Space: The
    Identity of Three generation of Patani Muslim Women in the
    Modern Education System” การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ เนื่องในวาระ
    ครบรอบ 150 ปี ความสัมพันธ์ไทย-เยอรมันนี ณ มหาวิทยาลัยฮัมบรูกว์ ประเทศ
    เยอรมันนี วันที่ 11-13 พฤษภาคม
  17. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2554). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “’Asian Values’ and ‘Family
    Values’ : Gender and Modernity in Malaysia and Singapore” ในงานประชุม
    ระดับนานาชาติ “ASEAN: Social, Cultural, and Economic Dimensions” ณ
    คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, วันที่ 20-21 สิงหาคม.
  18. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2554). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “Entering the “modern
    dream”: The life history of the first generation of Pattani Muslim women
    education during 1950-1960s” ในการประชุมวิชาการนานาชาติ “ไทยศึกษา ครั้งที่
    11” ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานครวันที่ 26-28 กรกฎาคม.
  19. ทวีลักษณ์ พลราชม. (2554). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “Women an ‘Development’: Critique of Women’s Knowledge Construction Paradigm in Thai Society” ในวันที่ 18-19 กุมภาพันธ์ 2554 ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
  20. ทวีลักษณ์ พลราชม.(2551). นำเสนอผลงานวิชาการ หัวข้อ “ ‘Decolonizing’
    Methodology in Thai Women’s Studies : The Young
    Generation Dialogue” ในการประชุมวิชาการนานาชาติไทยศึกษา ครั้งที่ 10 วันที่
    9-11 กุมภาพันธ์ 2551 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เกียรติคุณและรางวัล
 
ปี พ.ศ. 2559            รางวัลนำเสนอดีเด่น Session C ครอบครัว เด็ก สตรี และผู้สูงอายุ การสัมมนาเครือข่าย 
                            นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา ครั้งที่ 15 ประจำปี การศึกษา 2558
ปี พ.ศ. 2557            ทุนเก็บข้อมูลภาคสนาม ณ รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซียจาก Southeast Asian Regional 
                            Exchange Program (SEASREP) 2013
ปี พ.ศ. 2557            ทุน Asian Graduate Student Fellowship 2013 เพื่อค้นคว้าวิจัย ณ มหาวิทยาลัยแห่งชาติ สิงคโปร์                                      ประเทศสิงคโปร์ จาก Asia Research Institute
ปี พ.ศ. 2555            ทุน Asian Graduate Student Fellowship 2013 เพื่อค้นคว้าวิจัย ณ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ 
                            ประเทศสิงคโปร์ จาก Asia Research Institute
คณะกรรมการ
 
  • คณะกรรมการโครงการศูนย์ศึกษาภาษา วัฒนธรรม และสังคมอาเซียน สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้ประเมินบทความทางวิชาการ
 
  1. วารสารอินโดจีน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  2. วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  3. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  4. วารสารธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  5. วาสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์