Asst. Prof. Dr. Vithaya Arporn

Curriculum Vitae

 
Asst. Prof. Dr. Vithaya Arporn
 
Walailak University
School of Languages and General Education, Academic Building 5
222 Thaburi, Thasala District, Nakhon Si Thammarat, 80160 Thailand
 
Tell : 0-7567-6274
Fax : 0-7567-2431
Email : avithaya@wu.ac.th
การศึกษา
 
คุณวุฒิ                                ปร.ด. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          เอเชียศึกษา / มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ.                                 2563
 
คุณวุฒิ                                ศศ.ม. (ศิลปศาสตรมหาบัณทิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          ประวัติศาสตร์ / มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปี พ.ศ.                                 2541
 
คุณวุฒิ                                ศศ.บ. (ศิลปศาสตรบัณทิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          ภาษาอังกฤษ / มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปี พ.ศ.                                 2530
ประสบการณ์การทำงาน
 
ปี พ.ศ. 2551 – ปัจจุบัน              อาจารย์ประจำ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ความเชี่ยวชาญ
 
  1. ประวัติศาสตร์
  2. วัฒนธรรมศึกษา
  3. สิทธิพลเมือง
  4. การจัดการทรัพยากรและเศรษฐกิจ
  5. ชุมชนการเมืองภาคใต้
ประสบการณ์การสอน
 
ปีการศึกษา 2551 – ปัจจุบัน       มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ สาขาวัฒนธรรมศึกษา
ปริญญาตรี                          รายวิชาสภาวะความเป็นมนุษย์กับมาตรฐานทางศีลธรรม, พหุสังคมในสังคมไทย, เส้นทางเศรษฐกิจ
                                        พอเพียง, ชีวิตประจำวันกับหลักการอยู่ร่วมกันทางสังคม, แนวคิดโลกกับสังคมไทย,การเมืองของ
                                        ความยากจน, สิทธิ กฎหมาย และสังคม, เศรษฐกิจทรัพยากร กับสังคมไทย, การเมืองการปกครอง
                                        ท้องถิ่น, การเมืองภาคใต้ และการจัดการความขัดแย้ง
ผลงานทางวิชาการ
 
  • บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
  1. วิทยา อาภรณ์. (2558). “ตลาดเมืองใต้: บทสังเคราะห์โครงการยุวประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้” ความหมายบนเลาทาง บทความสังเคราะห์ผลงานยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้. 1 (1): 347-396.
  2. วิทยา อาภรณ์. (2554). “แนวทางโฉนดชุมชนกับการสร้างความมั่นคงในชีวิตของเกษตรกรภาคใต้”  วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา. 33 (1): 105-139.
  3. วิทยา อาภรณ์. (2554). “แนะนำหนังสือ หลัง 6 ตุลา ว่าด้วยความขัดแย้งทางความคิดระหว่างขบวนการนักศึกษากับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย” ใน รุไบยาต. 2 (2): 163-166.
  4. วิทยา อาภรณ์. (2552) “ความสัมพันธ์ในระบบแพปลาระดับหมู่บ้านกับการปรับตัวเข้าสู่ทุนนิยมของชาวประมงขนาดเล็ก” ใน สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. 3 (3): 207-237.
  • บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ
  1. วิทยา อาภรณ์. (2560). “ความรุนแรงในสวนปาล์มกับภาวะหลังสงครามเย็นในภาคใต้ ” ในการสัมมนาวิชาการระดับชาติ เครือข่ายประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา และสังคมวิทยาภาคใต้ ครั้้งที่ 3 ประจำปี 2560 ฆาตกรรม อาชญากรรม และภาวะนอกกฎหมายในภาคใต้ของไทย Murder, Crime, and Lawlessness in Southern Thailand ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วันที่ 25 สิงหาคม.
  2. วิทยา อาภรณ์. (2559). “การใช้มรดกโลกเพื่อต่อรองทางอำนาจในท้องถิ่นของประเทศโลกที่สามในเอเชีย: กรณีพระบรมธาตุนครศรีธรรมราชและเมืองปีนัง”  ในงานประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ครั้งที่ 8 ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วันที่ 7 กรกฎาคม.
  3. วิทยา อาภรณ์. (2558). “การศึกษาการปรับบทบาทของตลาดกลางสินค้าการเกษตรในกระแสโลกาภิวัตน์: กรณีเครือข่ายความสัมพันธ์ของตลาดหัวอิฐ จังหวัดนครศรีธรรมราช” นงานประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในวันที่ 3 กรกฎาคม.
  4. วิทยา อาภรณ์. (2556). “ก้าวแรกของการวิจัยเพื่อท้องถิ่นภาคใต้” ในการวิจัยเพื่อชุมชน ท้องถิ่น : พลังคนเพื่อพลังท้องถิ่น ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย วันที่ 13 กุมภาพันธ์.
  5. วิทยา อาภรณ์. (2556). “ตลาดกับลักษณะทางเศรษฐกิจการเมืองในภาคใต้” ในงานประชุมวิชาการ เอเชียศึกษาวันนี้ : การผงาดขึ้นของเอเชีย : Walailak University International Conference on Asian Studies II (WUICAS II) ณ อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วันที่ 19 กุมภาพันธ์.
    วิทยา อาภรณ์. (2556). “แนวทางโฉนดชุมชนกับการสร้างความมั่นคงในชีวิตของเกษตรกรภาคใต้” ในงานเสวนาวิชาการประจำปี 2556 เรื่อง “คน ในกระแสการเปลี่ยนแปลง” ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดโดยศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา วันที่ 16 กันยายน.
  • หนังสือ
  1. วิทยา อาภรณ์. (2560). “นักการเมืองถิ่นจังหวัดภูเก็ต” กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
  2. วิทยา อาภรณ์. (2556). “โฉนดชุมชน จินตภาพที่จับต้องได้” กรุงเทพฯ: กลุ่มปฎิบัติงานท้องถิ่นไร้พรมแดน.
  3. นายวิทยา อาภรณ์. (2554). “องค์การบริหารส่วนตำบลกับการพัฒนาเด็กพิการจังหวัดนครศรีธรรมราช”  กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ(มพก.).
  4. วิทยา อาภรณ์. (2553). “พลังของก้าวที่หนึ่ง ทศวรรษแรกของการวิจัยเพื่อท้องถิ่นภาคใต้” ตรัง: นกเช้า.
  5. วิทยา อาภรณ์. (2553). “2010 เปิดปม เงามืดการพัฒนาขนาดใหญ่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช” นครศรีธรรมราช: อักษรการพิมพ์.
เกียรติคุณและรางวัล
 
ปี พ.ศ. 2558               บุคคลดีเด่นด้านการวิจัยประจำปีงบประมาณ 2557  รางวัลโล่ห์เชิดชูเกียรติเนื่องในโอกาสอันเป็นมงคลครบ                                 รอบปีที่ 23 แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ