Miss Chanakamol Kongyok

Curriculum Vitae

 
Miss Chanakamol Kongyok
 
Walailak University
Center of Excellence on Women and Social Security
222 Thaburi, Thasala District, Nakhon Si Thammarat, 80160 Thailand
 
Tell : 083-196-7460
Email : kamonwan.ko@gmail.com
การศึกษา
 
คุณวุฒิ                                ปร.ด. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          เอเชียศึกษา / มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ.                                 2564
 
คุณวุฒิ                                ศศ.ม. (ศิลปศาสตรมหาบัณทิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          พัฒนามนุษย์และสังคม (ภาคพิเศษ) / มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ปี พ.ศ.                                 2554
 
คุณวุฒิ                                ศศ.บ. (ศิลปศาสตรบัณทิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          ภาษาอังกฤษ / มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ปี พ.ศ.                                 2551
 
คุณวุฒิ                                หลักสูตรประกาศนียบัตร
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          วิชาชีพครู / มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครศรีธรรมราช
ปี พ.ศ.                                 2564
 
คุณวุฒิ                                หลักสูตรประกาศนียบัตร
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา          ภาษาอินโดนีเซีย / มหาวิทยาลัยกาจาห์ มาดา
ปี พ.ศ.                                 2561
ประสบการณ์การทำงาน
 
ปี พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน               นักจัดการทางสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ในโครงการวิจัย “การยกระดับ                                                       เศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้าง                                             รากแก้วให้ประเทศ)”
ปี พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน               ครูอัตราจ้าง โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา                                                     นครศรีธรรมราช
ปี พ.ศ. 2561-ปัจจุบัน                นักวิจัย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านผู้หญิงและความมั่นคงทางสังคม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2560                         ผู้ช่วยนักวิจัย สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในโครงการวิจัย “การอยู่ร่วมกัน                                               ของแรงงานข้ามชาติกับคนท้องถิ่นใน แพปลาและโรงสีข้าว อำเภอปากพนัง จังหวัด                                                             นครศรีธรรมราช”
ปี พ.ศ. 2558 – 2559               นักวิจัย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ในโครงการวิจัย “การสืบทอดภูมิปัญญาการ                                           ทอผ้า สู่การอนุรักษ์เอกลักษณ์ของผ้าทอ นาหมื่นศรี”
ปี พ.ศ. 2555 – 2558               นักวิชาการ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2556                         ผู้ช่วยนักวิจัย สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในโครงการวิจัย “ภาษาชายแดน:                                                 อุดมการณ์ การใช้ภาษาอังกฤษและอัตลักษณ์ของผู้คนและชุมชนย่านการค้าชายแดนประเทศไทย                                               และมาเลเซีย”
ปี พ.ศ. 2554                         ผู้ช่วยนักวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ในโครงการวิจัย “การสร้างความเข้มแข็ง                                               ของเครือข่ายการเรียนรู้  เกี่ยวกับสุขภาวะผู้หญิง โดยมองผ่านการสร้างสรรค์ความรู้จากประ                                                 สบการณ์และชีวิตจริง”
ความเชี่ยวชาญ
 
  1. วัฒนธรรมศึกษา
  2. เอเชียศึกษา
  3. พัฒนามนุษย์และสังคม
  4. มานุษยวิทยาและสังคมวิทยา
ประสบการณ์การสอน/การบรรยายพิเศษ/การให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการ
 
ปี พ.ศ. 2564        วิทยากรบรรยายพิเศษในหัวข้อ “บาติกและการสร้างอัตลักษณ์ของชาวอินโดนีเซีย” งานสัมมนาออนไลน์เรื่อง                                วัฒนธรรมอินโดนีเซียที่มากกว่าแค่ภาษา, วันที่ 30 ตุลาคม 2564 จัดโดย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย                                    ธรรมศาสตร์
ปี พ.ศ. 2563        Reviewer for the article “Content Feasibility Analysis of Grade 1 Senior High School History                              Textbook in Indonesia” on Journal of International Studies Prince of Songkla University, 
                        Phuket
ปี พ.ศ. 2561         อาจารย์ผู้สอนประจำรายวิชาวัฒนธรรมศึกษา (Budaya Studi) ในหัวข้อ“วัฒนธรรมผ้าไทยและวัฒนธรรมบาติก                            อินโดนีเซีย”, วันที่ 3-27 กรกฎาคม 2561 ณ ศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยกัดจะห์ มาดา                                  (Universitas Gadjah Mada) เมืองยอกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย                                     
ปี พ.ศ. 2561         วิทยากรบรรยายพิเศษในหัวข้อ “อัตลักษณ์บาติกยอกยาการ์ตากับความสัมพันธ์ทางสังคม” นิทรรศการบาติกและ                          ศิลปะร่วมสมัยจากประเทศ อินโดนีเซีย, วันที่ 30 มกราคม 2561 ณ ห้องไอยรา พิพิธภัณฑ์บ้านไทย จิม ทอมป์สัน                          กรุงเทพฯ
ปี พ.ศ. 2559        ผู้ให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการแก่ผลงานนักศึกษา รายวิชา ASE-401 โครงงานอาเซียนศึกษา ประจำภาคการศึกษา                            1/2559 หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2559        ผู้ให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการแก่ผลงานนักศึกษา รายวิชา POL-410 สัมมนารัฐศาสตร์กับประเด็นปัญหาร่วมสมัย                            ประจำภาคการศึกษา 1/2559 หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2558        ผู้ให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการแก่ผลงานนักศึกษา รายวิชา POL-410 สัมมนารัฐศาสตร์กับประเด็นปัญหาร่วมสมัย                            ประจำภาคการศึกษา 1/2558 หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2558        ผู้ให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการแก่เวทีสนทนา ในหัวข้อ “การเพิ่มมูลค่าผ้ามรดกนาหมื่นศรี” วันที่ 21 ธันวาคม 2558                            ณ ห้องประชุม องค์การบริหารส่วนตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ปี พ.ศ. 2557        ผู้ช่วยสอนรายวิชา SOC-107 สิทธิ กฎหมาย และสังคม ประจำภาคการศึกษา1/2557 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป สำนัก                          วิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2556        ผู้ช่วยสอนรายวิชา SOC-103 เศรษฐกิจ ทรัพยากร กับสังคมไทย ประจำภาคการศึกษา 2/2556 หมวดวิชาศึกษา                            ทั่วไป สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2555        ผู้ช่วยสอนรายวิชา ITS-203 ภาษา สังคม และวัฒนธรรม ประจำภาคการศึกษา 2/2555 หลักสูตรไทยศึกษาบูรณา                          การ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2555        วิทยากรบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมกับการช่วงชิงทางสังคมวัฒนธรรมและการเมือง” 
                        วันที่ 25 ตุลาคม 2555 ณ ห้องเรียนรวม (03214) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2555        วิทยากรบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “ภาษากับการสร้างความรู้และความสัมพันธ์เชิงอำนาจ” วันที่ 22 ตุลาคม 2555                            ณ ห้องเรียนรวม (03214) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2555        ผู้ช่วยสอนรายวิชา 895-501 ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์กับการพัฒนา ประจำภาคการศึกษา 2/2554 ณ ห้องประชุม                          ราชาวดี อาคารเรียนคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ประสบการณ์การวิจัย
 
ปี พ.ศ. 2564
  • หัวหน้าโครงการวิจัย ในหัวข้อ “การสร้างอัตลักษณ์ของเยาวชนในสถานศึกษาผ่านวาทกรรม สารเสพติดคือทางออก” ได้รับทุนสนับสนุนจาก ศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • นักวิจัย ในโครงการ “ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19)” ได้รับทุนสนับสนุนจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช
  • นักจัดการทางสังคม ในโครงการ ”การยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)” ได้รับทุนสนับสนุนจาก กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ปี พ.ศ. 2560-2561
  • กำลังดำเนินการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ในหัวข้อ “บาติกยอกยาการ์ตากับการประกอบสร้างอัตลักษณ์แห่งชาติอินโดนีเซีย ตั้งแต่ ค.ศ.1998-ปัจจุบัน” ณ เมืองยอกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย
ปี พ.ศ. 2560
  • ผู้ช่วยนักวิจัย ในหัวข้อ “การอยู่ร่วมกันของแรงงานข้ามชาติกับคนท้องถิ่นในแพปลาและโรงสีข้าว อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช” ได้รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ปี พ.ศ. 2558-2559
  • หัวหน้าโครงการวิจัย ในหัวข้อ “การสืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้าสู่การอนุรักษ์เอกลักษณ์ของผ้าทอนาหมื่นศรี” ได้รับทุนสนับสนุนจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
ปี พ.ศ. 2556
  • ผู้ช่วยนักวิจัย ในหัวข้อ “ภาษาชายแดน: อุดมการณ์ การใช้ภาษาอังกฤษและอัตลักษณ์ของผู้คนและชุมชนย่านการค้าชายแดนประเทศไทยและมาเลเซีย” ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2555
  • ผู้ช่วยนักวิจัย ในหัวข้อ “การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายการเรียนรู้เกี่ยวกับสุขภาวะผู้หญิง โดยมองผ่านการสร้างสรรค์ความรู้จากประสบการณ์และชีวิตจริง” ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิผู้หญิงและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ปี พ.ศ. 2552-2554
  • ดำเนินการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท ในหัวข้อ “ตะกายดาว: ชีวิตต้องสู้ของผู้หญิงออฟฟิศ” ณ บริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ผลงานทางวิชาการ
 
  • บทความวิชาการ / บทความวิจัยที่ตีพิมพ์
  1. ชนกมลย์ คงยก. 2562. “บาติกยอกยาการ์ตา” บนเส้นทางประวัติศาสตร์ทางการเมืองเชิง
    วัฒนธรรมในยุคปฏิรูป ประเทศอินโดนีเซีย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี, 11(2), 137-164.
  2. ชนกมลย์ คงยก. 2560. รายงานการวิจัย เรื่อง “การสืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้าสู่การอนุรักษ์
    เอกลักษณ์ของผ้าทอนาหมื่นศรี”. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
  3. ชนกมลย์ คงยก. 2559. ผ้าในพิธีกรรมกับสังคมนาหมื่นศรี: กรณีศึกษาผ้านาหมื่นศรี อำเภอนาโยง
    จังหวัดตรัง. วารสารรูสมิแล กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 37(1), 79-94.
  4. ชนกมลย์ คงยก. 2558. ผ้า…สื่อกลางระหว่างความเชื่อกับพิธีกรรม: กรณีศึกษาผ้านาหมื่นศรี อำเภอ
    นาโยงจังหวัดตรัง. วารสารดำรงวิชาการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 14(1),
    79-96.
  5. ชนกมลย์ คงยก. 2558. เอกสารประกอบงานสัมมนาวิชาการ “โรฮีนจา” ชะตากรรมของมนุษย์
    ที่ยังไร้คำตอบ: ที่มาและทางออกของปัญหา. ISBN 978-974-7557-46-6. นครศรีธรรมราช: ไทม์พริ้นติ้ง.
  6. กมลวรรณ คงยก. 2554. ตะกายดาว: ชีวิตต้องสู้ของผู้หญิงออฟฟิศ. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้
    วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้, 4(1), 59-70.
  • บทความนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ / บทความวิจัย
  1. Chanakamol Kongyok. 2018. A Reconstruction of Indonesian National Identity by
    Yogyakarta’s Batik in the Reformasi Period. International Conference on
    Locacl Wisdom “The 1st INCOLWIS Local Wisdom for World Peace”, 9-10
    August 2018, Negeri Yogyakarta University, Indonesia.
  2. ชนกมลย์ คงยก. 2561. บาติกยอกยาการ์ตากับการประกอบสร้างอัตลักษณ์แห่งชาติอินโดนีเซียในยุคปฏิรูป. การประชุมวิชาการประจำปีด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา ครั้งที่ 1 หัวข้อ “เชื่อม ข้าม เผชิญหน้า ณ จุดตัด”, วันที่ 24-25 สิงหาคม 2561, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
  3. ชนกมลย์ คงยก. 2559. การสืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้าสู่การอนุรักษ์เอกลักษณ์ของผ้าทอ
    นาหมื่นศรี. รายงานความก้าวหน้าเพื่อพัฒนาโครงการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลมรดก
    ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ครั้งที่ 2, วันที่ 5-8 กันยายน 2559, ห้องประชุมกองอำนวยการร่วม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.
  4. ชนกมลย์ คงยก. 2559. การสืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้าสู่การอนุรักษ์เอกลักษณ์ของผ้าทอ
    นาหมื่นศรี. รายงานความก้าวหน้าเพื่อพัฒนาโครงการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลมรดก
    ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ครั้งที่ 1, วันที่ 6-9 มิถุนายน 2559, ห้องประชุมกองอำนวยการร่วม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.
  5. ชนกมลย์ คงยก. 2559. ศิลปะบนลวดลายผ้าบาติกสู่ความหมายทางสังคมของชาวอินโดนีเซีย:
    กรณีศึกษาลวดลายผ้าบาติกต้องห้าม เมืองยอกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย. การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ครั้งที่ 8, วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2559, อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
  6. ชนกมลย์ คงยก. 2558. บทบาทของผ้าในพิธีกรรม: กรณีศึกษา ผ้านาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัด
    ตรัง. การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ครั้งที่ 7, วันที่ 2-3 กรกฎาคม 2558,
    อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
  7. กมลวรรณ คงยก. 2554. ตะกายดาว: ชีวิตต้องสู้ของผู้หญิงออฟฟิศ. สัมมนาเครือข่ายนักศึกษา
    ระดับบัณฑิตศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 10, วันที่ 12-13 มกราคม 2554, คณะสังคมศาสตร์ และคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  8. กมลวรรณ คงยก. 2553. ตะกายดาว: ชีวิตต้องสู้ของผู้หญิงออฟฟิศ. การประชุมวิชาการระดับชาติ
    อุบลวัฒนธรรมครั้งที่ 1 “ฅน ค้า ข้าว ในลุ่มน้ำโขง”, วันที่ 23-25 ธันวาคม 2553, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เกียรติคุณและรางวัล
 
ปี พ.ศ. 2564                 “ทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเพื่อพัฒนางานวิชาการด้านปัญหาการเสพติดที่สำคัญของประเทศ ประจำปี                                       2564” จาก ศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุน                                         การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในโครงการวิจัย “การสร้างอัตลักษณ์ของเยาวชนในสถานศึกษาผ่าน                                           วาทกรรม สารเสพติดคือทางออก”
ปั พ.ศ. 2561-2563          “ทุนอุดหนุนโครงการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ประจ าปีงบประมาณ 2562” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2560 – 2561       “Damarsiswa Scholarship 2017/2018” Fakultas Ilmu Budaya, Universitas Gadjah Mada,                                        as a student at Indonesian Language and Culture Learning Service (INCULS) Program
ปี พ.ศ. 2559                 “ผลงานประเภทบรรยายระดับดีเด่น” การประชุมวิชาการระดับชาติ วลัยลักษณ์วิจัย ครั้งที่ 8                                                    มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในหัวข้อ “ศิลปะบนลวดลายผ้าบาติกสู่ความหมายทางสังคมของชาว                                                  อินโดนีเซีย: กรณีศึกษาลวดลายผ้าบาติกต้องห้าม เมืองยอกยาการ์ตาประเทศอินโดนีเซีย”
ปี พ.ศ. 2558 – 2559       “ทุนสนับสนุนการวิจัย โครงการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” กรมส่ง                                            เสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ในหัวข้อโครงการวิจัย “การสืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้าสู่การ                                          อนุรักษ์เอกลักษณ์ของผ้าทอนาหมื่นศรี”
ปี พ.ศ. 2558                 “ทุนสนับสนุนการศึกษาแก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา” จากหน่วยวิจัยโบราณคดี มหาวิทยาลัย                                                 วลัยลักษณ์
ปี พ.ศ. 2553                 “วิทยานิพนธ์ระดับดีเด่น” หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม (ภาค                                             พิเศษ) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในหัวข้อวิทยานิพนธ์ “ตะกายดาว: ชีวิตต้องสู้                                          ของผู้หญิงออฟฟิศ”