Mr. Surachai Vaivanjit

Curriculum Vitae

 
Mr. Surachai Vaivanjit
 
Walailak University
Center of Excellence on Women and Social Security
222 Thaburi, Thasala District, Nakhon Si Thammarat, 80160 Thailand
 
Tell : 083-190-1334
Email : vonetime@gmail.com
การศึกษา
 
คุณวุฒิ                            กำลังศึกษาปริญญาเอก
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา      เอเชียศึกษา / มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์                                                 
 
คุณวุฒิ                             สำเร็จหลักสูตรการเสริมสร้างสังคมสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ (4สใต้) รุ่น 2
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา      สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า
ประสบการณ์การทำงาน
 
ปัจจุบัน                             ที่ปรึกษาผู้บริหาร ร.ร.เร๊าะห์มานีย๊ะห์ อ.จะนะ จ.สงขลา                                  
                                      วิทยากรบรรยายในโครงการต่างๆให้แก่สถาบันการศึกษา หน่วยงาน และองค์กรต่างๆทั้งภาครัฐและ                                          เอกชน
ปี พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน         วิทยากรบรรยาย การสร้างภาวะผู้นำเพื่อพัฒนาชุมชนแก่นักศึกษาไทยในจอร์แดน โดยสถานทูตไทย ณ                                        กรุงอัมมานประเทศจอร์แดน
ปี พ.ศ. 2555 – ปัจจุบัน         ผู้ทรงคุณวุฒิ สกว. ท้องถิ่น ภาคใต้ตอนล่าง (โหนดอิสลามศึกษาและวัฒนธรรม)
ปี พ.ศ. 2557 – 2559            อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ปี พ.ศ. 2557 – 2558            กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวง                                          วัฒนธรรม
ปี พ.ศ.2548 – 2558             อาจารย์ประจำศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
ความเชี่ยวชาญ
 
  1. เอเชียศึกษา
  2. อาเซียนศึกษา
  3. มุสลิมศึกษา
  4. การศึกษา
  5. วัฒนธรรมศึกษา
  6. ชุมชนท้องถิ่น
  7. มานุษยวิทยา
  8. สังคมวิทยา
ประสบการณ์การวิจัย
 
ปี พ.ศ. 2552
  1. หัวหน้าโครงการวิจัย การศึกษาสาเหตุที่ทำให้คะแนน O-NET ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่ำ กรณีศึกษา โรงเรียนสุขสวัสดิ์วิทยา (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ)
  2. หัวหน้าโครงการวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้นำท้องถิ่นต่อการสร้างความเข้าใจในสถานการณ์การก่อความไม่สงบที่เกิดขึ้นในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้: กรณีศึกษาชุมชนบ้านซีเซะ ต.บาโร๊ะ อ.ยะหา จ.ยะลา (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
ปี พ.ศ. 2553
  1. หัวหน้าโครงการวิจัย การมีอยู่จริงขององค์ความรู้ที่บ่มเพาะท่ามกลางความหลากหลายต่อการสร้างความสมานฉันท์ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรณีศึกษา สถาบันการศึกษาปอเนาะภูมีวิทยา อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
  2. นักวิจัยร่วม การสังเคราะห์งานวิจัยชุมชนในรอบ 7 ปีที่เกี่ยวข้องกับปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักวิจัยและพัฒนาสถาบันพระปกเกล้า)
  3. นักวิจัยร่วม การรวบรวมคำศัพท์ภาษาอาหรับที่ควรรู้ของนักเรียนชั้น ม.6 (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.))
  4. นักวิจัยร่วม การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและวินัยต่อเด็กและเยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ : ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.))
  5. นักวิจัยร่วม ปัญหาความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้: การมีส่วนร่วมของเยาวชนกับบทวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
  6. นักวิจัยร่วม การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและวินัยแก่เด็กและเยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรณีศึกษาศูนย์อบรมจริยธรรมประจำวิทยาลัยอิสลามศึกษา (ทุนสนับสนุนวิจัยจากสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
  7. นักวิจัยร่วม Dynamics of Intellectual Movement in the Re-creation of Social Space for Melayu Culture (ทุนสนับสนุนการวิจัยของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร)
  8. ที่ปรึกษาโครงการวิจัย มุมมองของเยาวชนและความเข้าใจต่อการบังคับใช้ พ.ร.บ. ความมั่นคงในการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร 2551 กรณีศึกษา อ.นาทวี จ.สงขลา (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักวิจัยและพัฒนาสถาบันพระปกเกล้า)
ปี พ.ศ. 2554
  1. หัวหน้าโครงการวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้นำสี่เสาหลักในการบริหารจัดการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น: กรณีศึกษา “ตารีอีนา” ต.กายูคละ อ.แว้ง จ.นราธิวาส (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม)
  2. หัวหน้าโครงการวิจัย ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานโครงการพัฒนาชุมชนสันติสุขตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (พนพ.) ปี 2553-2554 (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักนโยบายและเศรษฐกิจ ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวดชายแดนภาคใต้)
  3. หัวหน้าโครงการวิจัย การวิจัยประเมินผลเชิงระบบ : งานบูรณาการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้)
  4. นักวิจัยร่วม การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและวินัยต่อเด็กและเยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ : ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) ต่อเนื่อง)
  5. นักวิจัยร่วม Dynamics of Intellectual Movement in the Re-creation of Social Space for Melayu Culture (ทุนสนับสนุนการวิจัยของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (ต่อเนื่อง))
  6. นักวิจัยร่วม มุ่งสู่ความเป็นรัฐธรรมาธิปไตย: กรณีศึกษาศูนย์บูรณาการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากศูนย์วิจัยธรรมาธิปไตย)
  7. นักวิจัยร่วม โครงการวิจัยเพื่อสำรวจการเลือกตั้งก่อน-หลัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย พ.ศ.2554 (หัวหน้าทีมสำรวจ 7 จังหวัดภาคใต้ ประกอบด้วย สงขลา สตูล พัทลุง ตรัง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และนราธิวาส) ภายใต้โครงการวิจัยวัฒนธรรมประชาธิปไตยรหัสโครงการ 54051รหัสกิจกรรม 10200 (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
  8. ที่ปรึกษาโครงการวิจัย วิถีชีวิตและวัฒนธรรมความบันเทิงของเยาวชนท่ามกลางสถานการณ์การก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ช่วง 7 ปีที่ผ่านมา(พ.ศ.2547-พ.ศ.2554) (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม)
ปี พ.ศ. 2555
  1. นักวิจัยร่วม โครงการวิจัยประเมินการดำเนินงานของรัฐสภา (หัวน้าทีมสำรวจ 9 จังหวัดภาคใต้ ประกอบด้วย สงขลา ชุมพร ระนอง พัทลุง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ปัตตานี ยะลาและนราธิวาส) (ทุนสนับสนุนการวิจัยสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
  2. นักวิจัยร่วม โครงการวิจัย Attitudes toward Violence and Reconciliation in Thailand (หัวน้าทีมสำรวจ 9 จังหวัดภาคใต้ ประกอบด้วย สงขลา ชุมพร ระนอง พัทลุง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ปัตตานี ยะลาและนราธิวาส) (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักวิจัย สถาบันพระปกเกล้า ร่วมกับ มหาวิทยาลัย Uppsala ประเทศสวีเดน)
  3. นักวิจัยร่วม โครงการวิจัยรูปแบบการให้บริการและแนวทางการปรับตัวของผู้ประกอบการฮัจญ์เพื่อพัฒนาธุรกิจฮัจญ์ไทยสู่เวทีประชาคมอาเซียน (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม)
  4. นักวิจัยร่วม โครงการการจัดการความรู้ภาษาไทยให้แก่นักเรียนที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาที่สองในการเรียนรู้ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก ศอ.บต.)
  5. ที่ปรึกษาโครงการวิจัย โต๊ะหวันเต๊ะห์ ปูชณียบุคคล ตำนานแห่งความเจริญรุ่งเรืองของชุมชนบ้านหัวทะเล (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กระทรวงวัฒนธรรม)
  6. ที่ปรึกษาโครงการวิจัย การอนุรักษ์และฟื้นฟูภาษาถิ่น (มลายู) กรณีศึกษาตำบลนาเคียน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม)
  7. ที่ปรึกษาโครงการวิจัย การนำเทคนิคและลวดลายการวาดผ้าบาติกมาใช้ในการตกแต่งของใช้ในครัวเรือนเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษาจังหวัดปัตตานี (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม)
ปี พ.ศ. 2556
  1. หัวหน้าโครงการวิจัย เครือข่ายสตรีเพื่อการเสริมสร้างสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า)
  2. หัวหน้าโครงการวิจัย การนำผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET) ระดับชั้นมัธยมปีที่ 3 และปีที่ 6 ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน : กรณีศึกษา โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.))
  3. หัวหน้าโครงการวิจัย การศึกษาและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของชุมชนชายแดนเพื่อการปรับตัวรองรับประชาคมอาเซียน: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.))
  4. นักวิจัยร่วม โครงการวิจัยการพัฒนาเครือข่ายอิสลามศึกษาในกลุ่มประเทศอาเซียน (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติ (สกอ.))
ปี พ.ศ. 2557
  1. หัวหน้าโครงการวิจัย การสร้างความปรองดองในชุมชนชายแดนใต้หลังการเลือกตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลประจำปี 2556 : กรณีศึกษา อบต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
  2. นักวิจัยร่วม โครงการวิจัยการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วยกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาแบบมีส่วนร่วม (Step Project) (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
  3. นักวิจัยร่วม โครงการวิจัย ความคิดเห็นพฤติกรรมทางจริยธรรมตามปณิธานหลัก (Core Value) ของวุฒิสภา (ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
  4. นักวิจัยร่วม โครงการวิจัยการศึกษาภาวะสุขภาพผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้และสี่อำเภอของจังหวัดสงขลา (ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานส่งเสริมสุขภาวะมุสลิม (สสม.))
  5. นักวิจัยร่วม โครงการวิจัยการประเมินประสิทธิภาพสถานีตำรวจและความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ ประจำปีงบประมาณ 2557 (ทุนสนับสนุนการวิจัยความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ)
ปี พ.ศ. 2558
  1. หัวหน้าโครงการวิจัย การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมชุมชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนการวิจัยสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
  2. หัวหน้าโครงการวิจัย การพึ่งพิงอุตสาหกรรมยาสูบของมุสลิมและชุมชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากแผนงานสร้างสุขมุสลิมไทย (สสม.))
  3. หัวหน้าโครงการวิจัย วิถีชีวิตของประชาชนมุสลิมที่ส่งผลต่อการสร้างเสริมสุขภาพผ่านการมีกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ (ทุนสนับสนุนจากวิจัยจาก ศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ PARC มหาวิทยาลัยมหิดล)
  4. นักวิจัยร่วม มุมมองประชาชนต่อนโยบายภาครัฐที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษา “ทุ่งยางแดงโมเดล” (ทุนสนับสนุนการวิจัยสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
ปี พ.ศ. 2559
  1. หัวหน้าโครงการวิจัย การส่งเสริมอนุรักษ์และพัฒนาคุณค่าประเพณี “การคอตัม-อัลกุรอาน” ของชาวมุสลิมในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม)
  2. หัวหน้าโครงการวิจัย การสังเคราะห์งานวิจัยเพื่อท้องถิ่นในรอบ 10 ปี (พ.ศ.2549 – พ.ศ. 2558) ของศูนย์ประสานงานวิจัยอิสลามศึกษาและวัฒนธรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น) )
  3. นักวิจัยร่วม โครงการวิจัยค้นหาทุนทางสังคมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ของประเทศไทย (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
  4. นักวิจัยร่วม บานอในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย เพื่อเสนอขอให้ “บานอ” เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม (ทุนสนับสนุนการวิจัย จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม)
ปี พ.ศ. 2560
  1. หัวหน้าโครงการวิจัย การสังเคราะห์บทเรียนการนำผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET) ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามขนาดเล็กที่ได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทานในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2555- พ.ศ.2559) (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ)
  2. นักวิจัยร่วม แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเนือยนิ่งของนักเรียนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนการวิจัยศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ ม.มหิดล)
  3. นักวิจัยร่วม บทบาทและมุมมองของสื่อโทรทัศน์มุสลิมกับการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ต่อกลุ่มเด็กและเยาวชนมุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ทุนสนับสนุนจาก กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์)
  4. นักวิจัยร่วม ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขัน และความสามารถในการปรับตัวของผู้ประกอบการมุสลิมขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้สู่การรองรับประชาคมอาเซียน (ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่าย 1 )
ปี พ.ศ. 2561
  1. หัวหน้าโครงการวิจัย ศึกษาสภาพการติดตามข่าวสารของเยาวชนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านไฟฟ้าในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อสร้างเครือข่าย การเรียนรู้ร่วมกันในสำนึกความเป็นพลเมือง ผ่าน Social Network (ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน)
  2. นักวิจัยร่วม World Values Survey 2017-2018 (ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
ผลงานทางวิชาการ
 
  • บทความวิชาการ / บทความวิจัยที่ตีพิมพ์
  1. การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยระดับประถมศึกษาสําหรับนักเรียนมุสลิมในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย ตีพิมพ์ในวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีที่ : 4 ฉบับที่ : 8 เลขหน้า : 1-8 ปีพ.ศ. : 2557 (TCI 1)
  2. บทความวิจัยเรื่อง “การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมชุมชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้” ตีพิมพ์ในวารสารการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปี 2560 (TCI 1)
  • ผลงานอื่นๆ ที่นำเสนอในเวทีวิชาการต่างๆ เช่น ตำรา บทความ สิทธิบัตร ฯลฯ
  1. บทความวิจัย เรื่อง “การมีส่วนร่วมของผู้นำท้องถิ่นในการสร้างความเข้าใจในสถานการณ์การก่อ ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษาชุมชนบ้านซีเซะ ต.บาโระ อ.ยะหา จ.ยะลา”นำเสนอในงานประชุมวิชาการ “กระบวนทัศน์มหาวิทยาลัยไทยบนความท้าทายของเอเชียแปซิฟิก” จัดโดย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ร่วมกับเครือข่ายวิจัยประชาชื่น เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2554
  2. บทความปริทัศน์ เรื่อง “แรงบันดาลใจเส้นทางสู่ตำแหน่งทางวิชาการ: มุมกลับของวันวานที่ต้องทบทวน” นำเสนอในงานประชุมวิชาการ ครั้งที่ 5 “การบูรณาการสหศาสตร์เพื่อการสร้างสรรค์สังคมโลกสมัยใหม่” จัดโดย คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร่วมกับ สำนักส่งเสริมการวิจัยและเขียนตำรา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2554
  3. บทความวิจัยเรื่อง “The existence of Bodies of Knowledge Amidst Diversity and the Reconciliation Attempts in Three Southern Border Provinces of Thailand: A Case Study of Phumi Pondok Institution in Yaring District of Pattni” นำเสนอในงาน The first international islamic conference in medan, indonesia เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555
  4. บทความวิจัยเรื่อง “Tari Inai Di Selatan Thai: Pemuliharaan Seni Budaya Melayu Dalam Gemelut Konflik” นำเสนอในงาน International Conference Vitality Of Language And Culture จัดโดย Malaysian Association of Modern Languages เมื่อวันที่ 5-6 มิถุนายน 2556 ณ Armada Hotel Petaling Jaya Malasia
  5. บทความวิจัยเรื่อง “การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและวินัยแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม : ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส” นำเสนอในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติครั้งที่ 5 Hatyai Symposium National and Internationai 2014 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
  6. บทความวิจัยเรื่อง “การมีส่วนร่วมของผู้นำสี่เสาหลักในการบริหารจัดการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น: กรณีศึกษา “ตารีอีนา” ต.กายูคละ อ.แว้ง จ.นราธิวาส” นำเสนอในงาน ประชุมสวนสุนันทาวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 ณ โรงแรมเดอะรอยัลริเวอร์ ระหว่างวันที่ 20-21 พฤศจิกายน 2557
  7. บทความวิชาการเรื่อง Islamic Studies in Myanmar : Opportunities and Challenges นำเสนอในงาน The International Conference On Peace And Conflict Resolution : Bridging Diversity For Peaceful Coexistence 15-16 December,2014 Pullman Khon Kaen Raja Orchid, Thailand
  8. บทความวิจัยเรื่อง “สภาพโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ส่งผลต่อการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET) ของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3” นำเสนอในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 2 ประจำปี 2557 จัดโดยวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  9. บทความวิจัยเรื่อง “การสร้างความปรองดองในชุมชนชายแดนใต้หลังการเลือกตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลท้องถิ่น ประจำปี 2556: กรณีศึกษา อบต. แหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี” นำเสนอในงาน สัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2558 (Thai Politics Forum 2015) “พลเมืองและชุมชน พลังเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตยไทย” เมื่อวันที่ 20 –21 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
  10. บทความวิจัยเรื่อง “วิถีชีวิตของประชาชนมุสลิมที่ส่งผลต่อการสร้างเสริมสุขภาพผ่านการมีกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ” นำเสนอในงาน การประชุมวิชาการกิจกรรมทางกายระดับชาติครั้งที่ 1 Active Living for All เมื่อวันที่ 17 -18 พฤศจิกายน 2558 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
  11. บทความวิจัยเรื่อง “มุมมองประชาชนต่อนโยบายภาครัฐที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษา“ทุ่งยางแดงโมเดล” นำเสนอในงาน โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 4 ประจำปี 2559 วันที่ 13 พฤษภาคม 2559 ณ โรงแรมโนโวเทล หวัหิน ชะอำบีช รีสอร์ทแอนด์สปา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
  12. บทความวิชาการเรื่อง “มัสยิดตะโละมาเนาะ (มัสยิดวาดีฮุเซน) : เรื่องราว ความหมายของมรดกทางสถาปัตยกรรมแห่งโลกมลายู” ในเวทีนำเสนอผลงานระดับชาติ ประจำปี 2559 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
  13. บทความวิจัยเรื่อง “การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมชุมชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้” นำเสนอในเวทีการประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
  14. บทความวิชาการเรื่อง Padoman Refomasi Proses Peradilan Masyarakat Di Provinsi Perbatasan Selatan Thailand ในงาน SeIPTI 2017 Fatoni University
  15. บทความวิจัย The Conservation Promotion and Development of Traditional Values of ‘Khatam Quran’ of Muslims in Five Southern Border Provinces. นำเสนอในงาน The 2nd International Conference on Religion & Society 2017 Universiti Malaysia Sabah
เกียรติคุณและรางวัล
 
ปี พ.ศ. 2557              รางวัลนำเสนอผลงานวิจัยดีเด่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เรื่อง “การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม                               และวินัยแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม : ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส” ในการประชุมวิชาการระดับชาติและระดับ                                     นานาชาติครั้งที่ 5 Hatyai Symposium National and International 2014