Asst. Prof. Surat Khompot

Curriculum Vitae

 
Asst. Prof. Surat Khompot
 
Walailak University
School of Political Science and Public Administration, Academic Building 5
222 Thaburi, Thasala District, Nakhon Si Thammarat, 80160 Thailand
 
Tell : 0-7567-6230
Fax : 0-7567-6206
Email : skhompot@gmail.com
การศึกษา
 
คุณวุฒิ                             ร.บ. (รัฐศาสตรมหาบัณฑิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา       การปกครอง / มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์                                                 
ปี พ.ศ.                              2554
 
คุณวุฒิ                             น.บ. (นิติศาสตรบัณฑิต)
สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา       นิติศาสตร์ / มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 
ปี พ.ศ.                              2546
ประสบการณ์การทำงาน
 
ปี พ.ศ. 2562 – ปัจจุบัน          อาจารย์ประจำ สำนักวิชารัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ความเชี่ยวชาญ
 
  1. ทฤษฎีการเมืองร่วมสมัย 
  2. ทฤษฎีรัฐธรรมนูญ 
  3. ทฤษฎีประชาธิปไตย 
  4. ปรัชญาคอนติเนนตัลร่วมสมัย
ประสบการณ์การสอน
 
ปีการศึกษา 2562 – ปัจจุบัน    มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชารัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
ปริญญาตรี                        รายวิชาประวัติความคิดทางการเมือง, ปรัชญาการเมืองคลาสสิก, ปรัชญาการเมือง, การเมืองของ
                                      ประชาชนและความเป็นพลเมือง, กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง, รัฐธรรมนูญและสถาบัน
                                      การเมือง, การพัฒนาระหว่างประเทศ, ทฤษฎีประชาธิปไตย, การศึกษาประเด็นเฉพาะทางการเมือง
ผลงานทางวิชาการ
 
  • งานวิจัย
  1. นันทวัฒน์ ฉัตรอุทัย และ กนกวรรณ ชัยทัต (ผู้วิจัย), สุรัช คมพจน์ และ อธิป จิตตฤกษ์ (ผู้ช่วยวิจัย). (2548).โครงการประเมินและสังเคราะห์สถานภาพองค์ความรู้การวิจัยวัฒนธรรมในประเทศไทย: หัวข้อเรื่องอุตสาหกรรมวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)) ระยะเวลา มกราคม-เมษายน 2548
  2. ปรับปรุงมาจากงานวิจัย สุรัช คมพจน์. (2554). ทฤษฎีวิพากษ์แห่ง “สำนักแฟรงค์เฟิร์ท” กับการศึกษารัฐศาสตร์และการบริหารรัฐกิจ. ในรายงานผลการดำเนินงาน [ฉบับสมบูรณ์] เรื่อง “รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แนวหลังสมัยใหม่นิยม”. อัมพร ธำรงลักษณ์ (บก.). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
  3. สุรัช คมพจน์. (2560). วิธีการทางปรัชญาของเยอร์เก้น ฮาเบอร์มาส: การปรับโครงสร้างเหตุผล. ภายใต้โครงการวิจัย “วิธีวิทยาทางปรัชญา” พิพัฒน์ สุยะ (หัวหน้าชุดโครงการ) ภายใต้ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย เสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (กลุ่มงานมนุษยศาสตร์) ระยะเวลา 1 กันยายน 2558 – 28 กุมภาพันธ์ 2560 (ยังไม่เสร็จสิ้น เนื่องจากกระบวนการล่าช้า)
  4. สุรัช คมพจน์. (2561). การเมืองของการยอมรับ (Politics of Recognition): โครงการทางปรัชญาความคิดของ Axel Honneth. ภายใต้โครงการวิจัย “ปริทัศน์นักทฤษฎีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ร่วมสมัย” รองศาสตราจารย์ ดร.วิศรุต พึ่งสุนทร (หัวหน้าชุดโครงการ) ภายใต้ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย เสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (กลุ่มงานมนุษยศาสตร์) ระยะเวลา 1 มิถุนายน 2560 – 30 พฤศจิกายน 2561
  5. สุรัช คมพจน์. (2562). โครงการทางการเมืองของประชาธิปไตยเหนือรัฐชาติ: การปรับโครงสร้างอำนาจในการสถาปนารัฐธรรมนูญของเยอร์เก้น ฮาเบอร์มาส. เสนอต่อสถาบันวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ระยะเวลา 1 พฤษภาคม 2561 – 30 พฤษภาคม 2562 (อยู่ในกระบวนการจัดทำ)
  • บทความวิจัย/บทความวิชาการ
  1. สุรัช คมพจน์. (2563). การเมืองของการยอมรับ: โครงการทฤษฎีสังคมของแอ็กเซล ฮอนเน็ต. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 16(1) (มกราคม-มิถุนายน). (บทความวิจัย – อยู่ในระหว่างการจัดพิมพ์)
         จากงานวิจัย สุรัช คมพจน์. (2561). การเมืองของการยอมรับ (Politics of Recognition): โครงการทางปรัชญาความคิดของ Axel Honneth. ภายใต้โครงการวิจัย “ปริทัศน์นักทฤษฎีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ร่วมสมัย” รองศาสตราจารย์ ดร.วิศรุต พึ่งสุนทร (หัวหน้าชุดโครงการ) ภายใต้ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย เสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (กลุ่มงาน                มนุษยศาสตร์) ระยะเวลา 1 มิถุนายน 2560 – 30 พฤศจิกายน 2561
      2. สุรัช คมพจน์. (2561). ทางตันของปรากฏการณ์วิทยาและทางออกโดยวัตถุนิยมวิภาษวิธี: วิธีการทางปรัชญาของเจิ่นดึกถ่าว. ใน Phenomenology and Dialectical Materialism. ใน ทวีศักดิ์ เผือกสม (บก.). (2561). ปัญญาชน ศีลธรรม และสภาวะสมัยใหม่: เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, หน้า 425-458.
      3. สุรัช คมพจน์. (2557). ความเป็นตัวแทน (Representation) ในยุคสมัยของการครอบงำด้วยเทคโนโลยี: ข้อสังเกตบางประการใน Roman Catholicism and Political Form ของ Carl Schmitt.รัฐศาสตร์สาร, 35(3) (กันยายน–ธันวาคม), หน้า 24–51.
      4.  สุรัช คมพจน์ และ ตฤณ ไอยะรา (2555). อนาคต ณ จุดสิ้นสุดของประวัติศาสตร์: ข้อเสนอว่าด้วยการสร้างอุดมการณ์ใหม่ของฟรานซิส ฟูกูยาม่า.ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม–ธันวาคม),หน้า 33-38.
      5.  ฟรานซิส ฟูกูยาม่า. (2555). อนาคตของประวัติศาสตร์: เสรีประชาธิปไตยสามารถรอดพ้นจากความเสื่อมถอยของชนชั้นกลางได้หรือ?. สุรัช คมพจน์ และ ตฤณ ไอยะรา (แปล).ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม), หน้า 39-49.
      6.  สุรัช คมพจน์. (2554). มานุษยวิทยาว่าด้วยความรู้: ญาณวิทยา วิธีวิทยาและปัญหาในการจัดวาง “ทฤษฎีวิพากษ์สังคม” บนฐานทางญาณวิทยาของฮาเบอร์มาส.รัฐศาสตร์สาร, ปีที่ 32(2)  (พฤษภาคม – สิงหาคม), หน้า 107-199.
      7.สุรัช คมพจน์. (2552). ทางตัน ปริศนา และทางออก: ฮาเบอร์มาสกับ “ทฤษฎีวิพากษ์” แห่งสำนักแฟรงก์เฟิร์ท.รัฐศาสตร์สาร, ฉบับพิเศษครบรอบ 30 ปี (เล่ม 3), หน้า 393-462.
 
  • หนังสือ/ตำรา/เอกสารการสอน
  1. สุรัช คมพจน์. (2557). ทฤษฎีวิพากษ์แห่ง “สำนักแฟรงค์เฟิร์ท” กับการศึกษารัฐศาสตร์และการบริหารรัฐกิจ. ใน อัมพร ธำรงลักษณ์ (บรรณาธิการ), รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แนวหลังสมัยใหม่นิยม. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและสิ่งพิมพ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, หน้า 128-209.