logo

Sueptrakool Wisessombat

Odd cave bacterium forms a multicellular ‘body,’ like plants and animals

A newly described bacterium is shaking up what it means to be a complex organism. The bizarre microbe, found by Japanese ecologists seeking biodegradable plastics, starts out as a single cell. But instead of remaining a single cell like most microbes, it then develops an organized body comprised of hundreds of cells. When the time […]

Odd cave bacterium forms a multicellular ‘body,’ like plants and animals Read More »

ARDA RESEARCH EXPO 2022 : สุดยอดเกษตรไทยยุคใหม่ สุดยอดเกษตรไทยยุคใหม่ ยกระดับด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม

ARDA RESEARCH EXPO 2022 : สุดยอดเกษตรไทยยุคใหม่ สุดยอดเกษตรไทยยุคใหม่ ยกระดับด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม https://fb.watch/fqq4-uXb8u/ https://riie.wu.ac.th/cermm/wp-content/uploads/sites/21/2022/09/2022-09-09_9-49-57.mp4

ARDA RESEARCH EXPO 2022 : สุดยอดเกษตรไทยยุคใหม่ สุดยอดเกษตรไทยยุคใหม่ ยกระดับด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม Read More »

ผศ.ดร.สืบตระกูล วิเศษสมบัติ ได้รับการจดทรัพย์สินทางปัญญาประเภทอนุสิทธิบัตร

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.สืบตระกูล วิเศษสมบัติ อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์ ที่ได้รับการจดทรัพย์สินทางปัญญาประเภทอนุสิทธิบัตร เรื่อง “สูตรอาหารเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียเพื่อการคัดแยก Burkhlderia pseudomallei” และ “อาหารคัดเลือกจำเพาะสำหรับเพาะเลี้ยงเชื้อราเดอร์มาโตไฟต์ชนิดทริโคพัยตอน” อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.สืบตระกูล วิเศษสมบัติ อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์ ที่ได้รับการจดทรัพย์สินทางปัญญา ประเภทอนุสิทธิบัตร ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2565 ผลงาน เรื่อง “สูตรอาหารเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียเพื่อการคัดแยก Burkhlderia pseudomallei” ซึ่งผลงานนี้เป็นการพัฒนาสูตรอาหารใหม่สำหรับเลี้ยงเชื้อและคัดแยกเชื้อแบคทีเรีย B. pseudomallei ซึ่งเจริญได้ในอาหารที่มีแหล่งพลังงานจากน้ำตาลและเสริมโปรตีน พบการเจริญของเชื้อส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงกรดด่าง (pH) ทำให้โคโลนีเกิดการเปลี่ยนสีแตกต่างแยกได้จากแบคทีเรียชนิดอื่นๆ ซึ่งจะทราบผลภายในเวลา 48 ชั่วโมง สามารถระบุเชื้อและวินิจฉัยโรคได้เร็วจากที่โดยวิธีการทั่วไปต้องใช้ระยะเวลาเฉลี่ย 3-5 วัน ซึ่งอาจทำให้การรักษาผู้ป่วยเป็นไปอย่างล่าช้าหรืออาจทำให้ใช้วิธีการรักษาที่ไม่เหมาะสม และ ผลงาน เรื่อง “อาหารคัดเลือกจำเพาะสำหรับเพาะเลี้ยงเชื้อราเดอร์มาโตไฟต์ชนิดทริโคพัยตอน” ซึ่งผลงานนี้เพื่อพัฒนาอาหารคัดเลือกจำเพาะสำหรับเพาะเลี้ยงเชื้อราเดอร์มาโตไฟต์ชนิดทริโคพัยตอน เจริญได้ในอาหารที่ประกอบด้วยเพปโทนและน้ำตาลเด็กโตรส เป็นแหล่งพลังงาน มีกากถั่วเหลืองเป็นแหล่งวิตามิน และยูเรียกระตุ้นการสร้างเอนไซม์ยูเรียเอสของเชื้อทริโคพัยตอน พบการเจริญเชื้อส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงกรดด่าง (pH) ทำให้เกิดการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ช่วยให้อ่านผลได้ง่ายขึ้น

ผศ.ดร.สืบตระกูล วิเศษสมบัติ ได้รับการจดทรัพย์สินทางปัญญาประเภทอนุสิทธิบัตร Read More »

รศ.ดร.วิยดา กวานเหียน กลางบุตร และ ดร.วิลาวัณย์ ผลาชุม ได้รับการจดทรัพย์สินทางปัญญาประเภทอนุสิทธิบัตร

รศ.ดร.วิยดา กวานเหียน กลางบุตร และ ดร.วิลาวัณย์ ผลาชุม อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์ ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา ประเภทอนุสิทธิบัตร ณ วันที่ 4 เมษายน 2565 ผลงาน เรื่อง “กรรมวิธีการผลิตผงน้ำส้มจาก” โดยได้รับการจดทะเบียนร่วมกับสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ซึ่งผลงานกรรมวิธีการผลิตผงน้ำส้มจากเป็นกรรมวิธีที่ให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ผงน้ำส้มจากสีขาวแกมเหลืองที่มีความคงตัว สามารถเก็บได้นาน 6 เดือน สามารถนำไปใช้เป็นเครื่องปรุงรสอาหารชนิดเปรี้ยว ผงเครื่องดื่มปรุงรสพร้อมชง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารชนิดแคปซูลอัดเม็ด หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ และกรรมวิธีการผลิตดังกล่าวก็เป็นอีกนวัตกรรมหนึ่งที่เหมาะสำหรับลูกค้าหรือผู้ที่สนใจในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ใช้ผงน้ำส้มจากเป็นส่วนผสมหลัก

รศ.ดร.วิยดา กวานเหียน กลางบุตร และ ดร.วิลาวัณย์ ผลาชุม ได้รับการจดทรัพย์สินทางปัญญาประเภทอนุสิทธิบัตร Read More »

Bacteria benefit tumor cells

Abstract Intracellular bacteria enhance the survival of circulating tumor cells.   Emerging evidence indicates that the host microbiota affect tumor progression across various cancers, that microbiota are components of tumors that were once thought to be entirely sterile, and that bacterial populations associated with primary tumors maintain that association at distal metastatic sites. In addition,

Bacteria benefit tumor cells Read More »

Intracellular silicification by early-branching magnetotactic bacteria

Abstract Biosilicification—the formation of biological structures composed of silica—has a wide distribution among eukaryotes; it plays a major role in global biogeochemical cycles, and has driven the decline of dissolved silicon in the oceans through geological time. While it has long been thought that eukaryotes are the only organisms appreciably affecting the biogeochemical cycling of

Intracellular silicification by early-branching magnetotactic bacteria Read More »

IGF-binding proteins secreted by cancer-associated fibroblasts induce context-dependent drug sensitization of lung cancer cells

INTRODUCTION Precision medicine approaches with targeted drugs have been transformative in cancer therapy, particularly when directed at genetically activated oncogenes that cause aberrant kinase signaling, such as BCR-ABL and EML4-ALK fusions that arise from chromosomal translocations or activating BRAF and EGFR mutations (1–4). However, such targeted therapies are often followed by drug resistance, leading to tumor relapse (5). There are various mechanisms of

IGF-binding proteins secreted by cancer-associated fibroblasts induce context-dependent drug sensitization of lung cancer cells Read More »

The systemic anti-microbiota IgG repertoire can identify gut bacteria that translocate across gut barrier surfaces

IgG pinpoints culprit bacteria The gut microbiome is thought to play an important role in diseases that are driven by overactivation of the immune system. Gut microbes can cross the gut barrier and activate disease-relevant immune cells, but which gut microbes have this capacity remains difficult to assess. Vujkovic-Cvijin et al. expand on previous studies to present

The systemic anti-microbiota IgG repertoire can identify gut bacteria that translocate across gut barrier surfaces Read More »