ตราสัญลักษณ์สถาบันส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ World Class

ขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยที่ได้รับทุนภายนอก

ขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยที่ได้รับทุนภายนอก
สถาบันวิจัยและนวัตกรรม ขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยที่ได้รับทุนภายนอก

สถาบันวิจัยและนวัตกรรม ขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยที่ได้รับทุนภายนอก ประจำปีงบประมาณ 2565 ตั้งแต่ เดือนตุลาคม 2564 – มีนาคม 2565 จำนวน 9 แหล่งทุน ดังนี้
 
การยางแห่งประเทศไทย
“การลดต้นทุนการผลิตไม้ยางพาราแปรรูปอบแห้งในโรงงานอุตสาหกรรมโดยการปรับลดอัตราเร็วของพัดลมให้เหมาะสมในระหว่างการอบ”
– รศ.ดร.นิรันดร มาแทน (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี), นายทวีศิลป์ วงพรต (ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
“รองเท้ายางอัจฉริยะสำหรับการช่วยการเดินของผู้ป่วย”
– ผศ.ดร.ประชิด สระโมฬี (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี) , ผศ.ดร.ศิราพร ศักดิ์พรหม (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี) , ผศ.ดร.ประภัสสร เส้งสุ้น (สหเวชศาสตร์)
 
สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.)
“การพัฒนาเตาเผาพลาสมาร้อนเพื่อกำจัดขยะติดเชื้อและขยะอันตราย”
– รศ.ดร.หมุดตอเล็บ หนิสอ (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี)
“การเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปไม้ยางพาราโดยนําเครื่องมือที่ใช้เทคนิคปัญญาประดิษฐ์ในการตรวจจับแกนไม้และหมุนท่อนซุงยางพาราโดยอัตโนมัติเพื่อวางแนวแกนไม้ก่อนตัดโดยระบบเลื่อยยนต์ ”
– รศ.ดร.วัฒนพงศ์ เกิดทองมี (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี) , รศ.ดร.นิรันดร มาแทน (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี)
“การศึกษาเฟสและลักษณะของโลหะทรานซิชันไดคาลโคจิไนด์เพื่อปรับปรุงสมบัติการใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยากระบวนการแยกน้ำด้วยไฟฟ้า”
– ผศ.ดร. สุจิตรา ภู่ระหงษ์ (วิทยาศาสตร์)
“การพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับทำการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกาย ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม”
– อ.ดร.ชาลี แก้วรัตน์ (สารสนเทศศาสตร์)
“การศึกษาด้านซิสเตมาติกส์ของใบ เมล็ด และละลองเรณูของพืชเผ่าหญ้าเกล็ดหอย (วงศ์ถั่ว)”
– อ.ดร.วิษณุ สายศร (วิทยาศาสตร์)
 
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
“การพัฒนาระบบบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนตามขนาดและบริบทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”
– ศ.ดร.วรรณา ชูฤทธิ์ (สำนักผู้บริหาร), ผศ.ดร.ปกรณ์ ดิษฐกิจ (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี) , ผศ.ดร.ศิริอุมา เจาะจิตต์ (สาธารณสุขศาสตร์), ผศ.ดร.ปนัดดา พิบูลย์ (สาธารณสุขศาสตร์) , ผศ.ดร.วาริท เจาะจิตต์ (สาธารณสุขศาสตร์) , รศ.ดร.จำนงค์ ธนะภพ (สาธารณสุขศาสตร์)
“แผนงาน การแปรรูปต้นปาล์มน้ำมันเหลือทิ้งในสวนเป็นผลิตภัณฑ์ไม้น้ำหนักเบามูลค่าสูง”
– รศ.ดร.นิรันดร มาแทน (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี)
“การผลิตไม้ปาล์มน้ำมันแปรรูปน้ำหนักเบาจากเศษชีวมวลต้นปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในสวน (ต้นแบบระดับอุตสาหกรรม)”
– รศ.ดร.นิรันดร มาแทน (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี)
“การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ไม้ปาล์มที่มีน้ำมันหอมระเหยเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผักหลังการเก็บเกี่ยว”
– รศ.ดร.นฤมล มาแทน (เทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม) , ผศ.ดร.สุเมธี ส่งเสมอ (เทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม)
“การผลิตไม้น้ำหนักเบาสำหรับใช้งานภายนอกด้วยการฝังอัดพอลิเมอร์ในไม้ปาล์มน้ำมัน”
– ผศ.ดร.สุฤกษ์ คงทอง (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี) , รศ.ดร.สุธน ศรีวะโร (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี)
“การผลิตผลิตภัณฑ์แซนวิชโดยใช้ไม้ปาล์มน้ำมันเป็นไส้สำหรับงานโครงสร้างฉนวนความร้อนและเสียง”
– รศ.ดร.สุธน ศรีวะโร (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี) , รศ.ดร.นิรันดร มาแทน (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี) , ผศ.ดร.สุฤกษ์ คงทอง (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี)
“โครงการติดตามการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจของโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลางในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมอื่นที่เกี่ยวข้องระยะที่ 2”
– อาจารย์ ดร.ปิยะ ปานผู้มีทรัพย์ (การจัดการ)
“การเก็บเกี่ยวโปรตีนจากกั้งตั๊กแตนทั้งตัวด้วยกระบวนการปรับเปลี่ยนพีเอชและการพัฒนากระบวนการต่อเนื่องเพื่อสกัดไคโตแซนจากเศษตะกอน”
– รศ.ดร.มนัส ชัยจันทร์ (เทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม)
 
หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
“โครงการระบบการติดตามอาสามัครท่องเที่ยวไทย (อสทท.) เพื่อการจัดการท่องเที่ยวไทยอย่างบูรณาการผ่าน Entry Thailand”
– รศ.ดร.กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี (วิทยาศาสตร์) , รศ.ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี (วิทยาศาสตร์)
“การผลิตผลิตภัณฑ์ต้มกะทิใบเหลียงสะตอกุ้งสดในรูปแบบเจลชนิดอ่อนสำหรับผู้สูงอายุ”
– รศ.ดร.มนัส ชัยจันทร์ (เทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม)
“ผลิตโจ๊กกึ่งสำเร็จรูปจากข้าวกล้องหน่วยเขือเสริมสารสกัดจากใบมันปูและผงเห็ดแครงสำหรับผู้สูงอายุในภาคใต้”
– รศ.ดร.วรวรรณ พันพิพัฒน์ (เทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม)
 
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
“โครงการวิจัยบูรณาการความรู้จากปราชญ์เกษตรสู่เกษตรอัจฉริยะด้วย Big data และ AI”
– ศ.ดร.ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ (สำนักผู้บริหาร) , รศ.ดร.กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี (วิทยาศาสตร์) , รศ.ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี (วิทยาศาสตร์)
 
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
“การยกระดับผลิตภัณฑ์น้ำตาลจากของชุมชนขนาบนากเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์”
– ผศ.ดร.วิสาขะ อนันธวัช (การจัดการ)
“การวิเคราะห์อุปสงค์-อุปทานน้ำตาลจาก และนวัตกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์น้ำตาลจากระดับชุมชนในพื้นที่ตำบลขนาบนาก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช”
– ผศ.ดร.จินตนีย์ รู้ซื่อ (การจัดการ)
 
Mitsui Sumitomo Insurance Co., Ltd. Thailand Branch
– รศ.ดร.ทนงศักดิ์ อิ่มใจ (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี)
 
หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนและทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม
“การริเริ่มการผลิตความรู้ศึกษา: วิธีวิทยาเอเชียอาคเนย์”
– ผศ.ดร.สิริพร สมบูรณ์บูรณะ (ศิลปศาสตร์)
“การวิเคราะห์ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตรโดยใช้โคแวเรียนซ์สวอปภายใต้แบบจำลองสโทแคสติกของผลตอบแทนความสะดวกที่มีปัจจัยด้านฤดูกาล”
– รศ.ดร.เสน่ห์ รุจิวรรณ (วิทยาศาสตร์)
 
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
“พัฒนา API รองรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบฐานข้อมูลสมาชิกและฐานข้อมูลทรัพยากร”
– รศ.ดร.พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ (สารสนเทศศาสตร์)