ตราสัญลักษณ์ สวนล. ภาษาไทย

คณาจารย์ ม.วลัยลักษณ์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารบนฐานข้อมูล Scopus Percentile มากกว่า 90 ขึ้นไป

ปกประชาสัมพันธ์-90%-เดือนกันยายน 2566-01
Journal Quartile Score (Q) คือ ค่าดัชนีที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของวารสารวิชาการ โดยสามารถแบ่งพิจารณา Percentile ได้ดังนี้
Q1 = Top position (75 – 100 %)
Q2 = Middle-high position (50 – 74.99 %)
Q3 =Middle-low position (25 – 49.99 %)
Q4 = Bottom position (1 – 24.99 %)
ซึ่ง Quartile Score จะเป็นตัวพิจารณาในด้านของทุนหรือ เงินรางวัลสำหรับการตีพิมพ์เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่นักวิจัยต่อไป

สถาบันส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีการจัดทำข้อมูลของนักวิจัยทั้งหมด ซึ่งมีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ในฐานะ First author และ Corresponding author ในวารสารที่มีค่า Percentile มากกว่า 90 ขึ้นไป ประจำเดือนกันยายน 2566 ที่ผ่านมา ปรากฎว่าบทความของคณาจารย์ที่มีผลงานตีพิมพ์ในฐานะ First author และ Corresponding author จำนวน 13 คน ดังนี้

  1. อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ ไกรนรา (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์) ในฐานะ First author ตีพิมพ์บทความ Development of a plastic waste treatment process by combining deep eutectic solvent (DES) pretreatment and bioaugmentation with a plastic-degrading bacterial consortium ในวารสาร Journal of Hazardous Materials ค่า Scopus percentile = 98%
  2. รศ.ดร.มนัส ชัยจันทร์ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร) ในฐานะ Corresponding author ตีพิมพ์บทความ Impact of Washing with Antioxidant-Infused Soda–Saline Solution on Gel Functionality of Mackerel (Auxis thazard) Surimi ในวารสาร Foods ค่า Scopus percentile = 97%
  3. ผศ.ดร.นิสา แซ่หลี (อาจารย์ประจำสำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร) ในฐานะ Corresponding author และ First author ตีพิมพ์บทความ Optimized Acetic Acid Production by Mixed Culture of Saccharomyces cerevisiae TISTR 5279 and Gluconobacter oxydans TBRC 4013 for Mangosteen Vinegar Fermentation Using Taguchi Design and Its Physicochemical Properties ในวารสาร Foods ค่า Scopus percentile = 97%
  4. รศ.ดร.จอม สุวรรณโณ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์) ในฐานะ Corresponding author ตีพิมพ์บทความ Cross-cultural adaptation and psychometric evaluation of the Thai version of Self-Care of Chronic Illness Inventory Version 4.c ในวารสาร International Journal of Nursing Sciences ค่า Scopus percentile = 95%
  5. ผศ.ดร.อุดมรัตน์ วัฒนสิทธิ์ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์) ในฐานะ Corresponding author และ First author ตีพิมพ์บทความ Airborne microplastics: A narrative review of potential effects on the human respiratory system ในวารสาร Science of the Total Environment ค่า Scopus percentile = 95%
  6. ผศ.ดร.กิตติคุณ วิวัฒน์ภิญโญ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์) ในฐานะ First author และ อาจารย์ ดร.สกันท์ วารินหอมหวล (อาจารย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์) ในฐานะ Corresponding author ตีพิมพ์บทความ Effects of mitragynine on viability, proliferation, and migration of C6 rat glioma, SH-SY5Y human neuroblastoma, and HT22 immortalized mouse hippocampal neuron cell lines ในวารสาร Biomedicine and Pharmacotherapy ค่า Scopus percentile = 94%
  1. รศ.ดร.มยุนา ศรีสุภนันต์ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์) ในฐานะ Corresponding author และ First author ตีพิมพ์บทความ Occurrence of Cryptosporidium oocysts in commercial oysters in southern Thailand ในวารสาร Food and Waterborne Parasitology ค่า Scopus percentile = 93%
  2. รศ.ดร.พงษ์พิชิต จันทร์นุ้ย (อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตร์) ในฐานะ Corresponding author และอาจารย์ ดร.พีรวิชญ์ เควด (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์) ในฐานะ First author ตีพิมพ์บทความ On Preheating after Inflation in Scalar-Tensor Theories of Gravity ในวารสาร Fortschritte der Physik ค่า Scopus percentile = 93%
  1. รศ.ดร.มนัส โคตรพุ้ย (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์) ในฐานะ First author และ รศ.ดร.ขวัญธิดา โคตรพุ้ย  (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์) ในฐานะ Corresponding author ในวารสาร Scientific Reports ค่า Scopus percentile = 92% ตีพิมพ์บทความ 1) Impact of malaria on glutathione peroxidase levels: a systematic review and meta-analysis 2) Differences in catalase levels between malaria-infected individuals and uninfected controls: a systematic review and meta-analysis ในวารสาร Scientific Reports ค่า Scopus percentile = 92%
  2. ผศ.ดร.ศรุดา คุระเอียด (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์) ในฐานะ First author ตีพิมพ์บทความ Association of uric acid levels with severity of Plasmodium infections: a systematic review and meta-analysis ในวารสาร Scientific Reports ค่า Scopus percentile = 92%
  3. อาจารย์ ดร.ธันวา บินล่าเต๊ะ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาเภสัชศาสตร์) ในฐานะ First author ตีพิมพ์บทความ Effects of collagen, chitosan and mixture on fibroblast responses and angiogenic activities in 2D and 3D in vitro models ในวารสาร Journal of Biomedical Materials Research – Part A ค่า Scopus percentile = 91%
  4. ศ.ดร.เอ็มดี อาเทียร์ รามัน (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์) ในฐานะ Corresponding author ตีพิมพ์บทความ A versatile functional food source Lasia spinosa leaf extract modulates the mRNA expression of a set of antioxidant genes and recovers the paracetamol-induced hepatic injury by normalizing the biochemical and histological markers ในวารสาร Journal of Functional Foods ค่า Scopus percentile = 91%
  5. รศ.ดร.ชูชาติ พันธ์สวัสดิ์ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์) ในฐานะ Corresponding author ตีพิมพ์บทความ Efficacy of artesunate combined with Atractylodes lancea or Prabchompoothaweep remedy extracts as adjunctive therapy for the treatment of cerebral malaria ในวารสาร BMC Complementary Medicine and Therapies ค่า Scopus percentile = 91%
อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ ไกรนรา (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์)
รศ.ดร.มนัส ชัยจันทร์ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร)
ผศ.ดร.นิสา แซ่หลี (อาจารย์ประจำสำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร)
รศ.ดร.จอม สุวรรณโณ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์)
ผศ.ดร.อุดมรัตน์ วัฒนสิทธิ์ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์)
ผศ.ดร.กิตติคุณ วิวัฒน์ภิญโญ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์) ในฐานะ First author และ อาจารย์ ดร.สกันท์ วารินหอมหวล (อาจารย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์)
รศ.ดร.มยุนา ศรีสุภนันต์ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์)
รศ.ดร.พงษ์พิชิต จันทร์นุ้ย (อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตร์) ในฐานะ Corresponding author และ อาจารย์ ดร.พีรวิชญ์ เควด (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์) ในฐานะ First author
รศ.ดร.มนัส โคตรพุ้ย (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์) ในฐานะ First author และ รศ.ดร.ขวัญธิดา โคตรพุ้ย (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์)
ผศ.ดร.ศรุดา คุระเอียด (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์) ในฐานะ First author
อาจารย์ ดร.ธันวา บินล่าเต๊ะ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาเภสัชศาสตร์) ในฐานะ First author ตีพิมพ์
ศ.ดร.เอ็มดี อาเทียร์ รามัน (อาจารย์ประจำสำนักวิชาสหเวชศาสตร์)
รศ.ดร.ชูชาติ พันธ์สวัสดิ์ (อาจารย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์) ในฐานะ Corresponding author