KM of Women in the South
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านผู้หญิงและความมั่นคงทางสังคม (cewss) ได้ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นศูนย์กลางในการศึกษาด้านผู้หญิงและความมั่นคงทางสังคมในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย ซึ่งยังมีความขาดแคลนองค์ความรู้ที่ในด้านนี้อยู่ และยังไม่มีหน่วยงาน หรือสถาบันการศึกษาในภาคใต้ที่มุ่งมั่นเพื่อจัดการความรู้ความเข้า การศึกษาวิจัยทางด้านนี้อย่างจริงจังมาก่อน ดังนั้นจุดประสงค์หลักในการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านผู้หญิงและความมั่นความมั่นคงทางสังคม แห่งมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นศูนย์กลางด้านการศึกษาเกี่ยวกับผู้หญิงในภาคใต้ และเป็นแหล่งรวมองค์ความรู้ด้านผู้หญิงของภาคใต้
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านผู้หญิงและความมั่นคงทางสังคม (cewss) จึงได้ดำเนินโครงการทบทวนสถานภาพองค์ความรู้เกี่ยวกับผู้หญิงในภาคใต้ เพื่อรวบรวมความรู้เกี่ยวกับผู้หญิงที่ได้มีการศึกษากันมาตั้งแต่อดีต นำไปสู่การนำไปใช้เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผู้หญิง โดยการจัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ด้านเพศสภาพ บทบาทของผู้หญิง และความยุติธรรมทางสังคมหลากมิติผ่านศาสตร์ด้านวัฒนธรรมศึกษา ผ่านระบบคอมพิวเตอร์และเผยแพร่ผ่านระบบสารสนเทศออนไลน์ นำเสนอแนวทางการเชื่อมต่องานบริการวิชาการและการวิจัยด้านสิทธิสตรีและความยุติธรรมทางสังคมให้กับชุมชน

Population Education

Fertility 30 Topic
1. การศึกษาเปรียบเทียบทัศนะคติและพฤติกรรมที่มีต่อภาวะเจริญพันธ์ุของชาวไทยและชาวไทยมุสลิม
2. Fertility and Contraception in the Rural South of Thailand
3. ความสัมพันธ์ระหว่างการสมรสกับการเจริญพันธุ์ของสตรีไทยมุสลิม ในจังหวัดภาคใต้
4. ภาวะเจริญพันธ์ุของสตรีไทยในหมู่บ้านชาวประมง
5. สถานภาพกับภาวะเจริญพันธ์ุ การศึกษาสตรีในชุมชนภาคใต้แห่งหนึ่งเพื่อเปรียบเทียบกับสตรีในกรุงเทพมหานคร
6. การศึกษาอนามัยครอบครัวในชุมชนไทยมุสลิมในภาคใต้” ใน : ภาวะเจริญพันธ์และการวางแผนครอบครัว
7. ข้อมูลเจริญพันธ์ุของชาวภาคใต้: ข้อศึกษาสำหรับไทยมุสลิม
8. ผลกระทบต่อภาวะเจริญพันธ์ุที่เกิดจากความเชื่อทางศาสนาและระเบียบประเพณีของชาวไทยมุสลิมภาคใต้
9. พฤติกรรมของสตรีในภาคใต้ของประเทศไทย ศึกษาจังหวัด ยะลา ปัตตานี และสงขลา
10. ภาวะเจริญพันธ์ุของสตรีไทยมุสลิมในภาคใต้
11. การศึกษาเปรียบเทียบภาวะเจริญพันธ์ุของสตรีไทยและสตรีไทยมุสลิมในอำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
12. ผลกระทบของนิคมสร้างตนเองต่อภาวะเจริญพันธ์ุ: ศึกษาเฉพาะกรณีนิคมสร้างตนเองเพพา จังหวัดสงขลา
13. การสำรวจข้อมูลพื้นฐานโครงการส่งเสริมความเป็นอยู่ของครอบครัวภาคใต้ (จังหวัดสตูล)
14. ภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีชาวเลในจังหวัดกระบี่ พังงาและภูเก็ต
15. ภาวะเจริญพันธ์ุ: การศึกษาเปรียบเทียบไทยพุทธและไทยมุสลิม 2523
16. ภาวะเจริญพันธ์ุ การวางแผนครอบครัว และการพัฒนาประชากรภาคใต้
17. หญิงไทยมุสลิมภาคใต้: สถานภาพ บทบาท และพฤติกรรมการเจริญพันธ์ุ
18. ผลกระทบจากนโยบายเพิ่มประชากรมาเลเซียต่อโครงการวางแผนครอบครัวใน 3 จังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย
19. การใช้สิ่งจูงใจเพื่อการควบคุมภาวะเจริญพันธ์ุภาคใต้ของประเทศไทย
20. การศึกษาเหตุผลในการมีบุตรของสตรีชาวเลจังหวัดภูเก็ต
21. ทัศนคติและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาวะเจริญพันธ์ุของชาวไทยมุสลิม
22. ค่านิยมเกี่ยวกับภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีชาวเลจังหวัดสตูล
23. ตัวกำหนดปัจจัยด้านการใช้บริการอนามัยแม่และเด็กที่มีผลกระทบต่อการตายของทารกชาวมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
24. ภาวะการครองโสดถาวรของคนไทยมุสลิม พ.ศ. 2513-2543
25. บทบาทหญิงชายกับการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธ์ุก่อนการแต่งงานของวัยรุ่นในจังหวัดสงขลา
26. การเปลี่ยนแปลงทางประชากร ครอบครัว และ สถานะทางเศรษฐกิจสังคมของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดภาคใต้
27. ความแตกต่างของภาวะเจริญพันธุ์ของสตรีไทยพุทธและมุสลิมในภาคใต้ของประเทศไทย
28. ผลของโปรแกรมสร้างเจตคติโดยการมีส่วนร่วมของสามีต่อความตั้งใจในการเว้นช่วงการมีบุตรของมารดาหลังคลอดวัยรุ่นมุสลิม
29. ครอบครัวไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี ในช่วงการเปลี่ยนผ่านทางประชากร
30. การตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่น ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งของภาคใต้